ถิ่นกำเนิดบั้งไฟพญานาค ตำนานพญานาค สองฝั่งโขง หน้า 39
หน้าที่ 39 / 58

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจเกี่ยวกับบั้งไฟพญานาคและประวัติของการบำเพ็ญตนของพญานาคในแม่น้ำโขง โดยมีการกล่าวถึงเมืองต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ รวมถึงการปฏิบัติตนของพญานาคในช่วงเข้าพรรษาและการนับถือพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงธรรมะที่มีผลต่อความเชื่อของผู้คนในบริเวณนั้น โดยยกตัวอย่างเมืองของโอมินทรนาคราชและโซนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อประเด็น

-ประวัติศาสตร์บั้งไฟพญานาค
-ความเชื่อเกี่ยวกับพญานาค
-การบำเพ็ญตนในช่วงเข้าพรรษา
-พุทธศาสนาและวัฒนธรรม
-เมืองในแม่น้ำโขง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๘ (4) ถิ่นกำเนิดบั้งไฟพญานาค ปัญหาของเทวดาในเขตแม่น้ำคงคานั้น เป็นเมืองหลวง เมืองของเจ้าแม่สองนางเป็น เกิดขึ้นตั้งแต่ครั้งที่ตนยังเป็นมนุษย์ ถ้าใคร เมืองบริวาร ปกครองโดยนางพญานาคีที่ใน ต้องการจะแก้ไข ก็ต้องเข้าไปช่วยแก้ไขกันตั้ง แต่เขายังเป็นมนุษย์ โดยการบำเพ็ญตนเป็น กัลยาณมิตรนำธรรมะแผ่ขยายไปให้ถึงเขา ให้ เขามีสัมมาทิฏฐิเกิดขึ้นก่อน ให้หันมานับถือ พระรัตนตรัยเป็นที่พึ่งก่อน ตลอดลำแม่น้ำโขงจะมีเมืองเล็กเมือง น้อย เมืองใหญ่ ของเหล่าพญานาคเกิดขึ้น เรื่อยๆ เป็นกลุ่มๆ ขยายจากโพนพิสัยไป อดีตเป็นธิดากษัตริย์ เมื่อฤดูเข้าพรรษามาถึง พญานาคทั้ง หลาย มีโอมินทรนาคราชและสุวรรณมธุร นาคราชเป็นผู้นำ ได้พาบริวารออกจากวิมาน มาจำศีลที่ใต้แม่น้ำโขง บริเวณที่จำศีล บาง ส่วนก็เป็นโพรงดิน บางส่วนก็เป็นโพรงน้ำ บางส่วนก็เป็นถ้ำใต้น้ำ ต่างก็อยู่รวม ๆ กัน และจะสมาทานอุโบสถศีลในช่วงเข้าพรรษา อำเภอบึงกาฬ อำเภอรัตนวาปี อำเภอศรี ถือพรหมจรรย์อย่างเคร่งครัดไม่ยุ่งเกี่ยวกับ เชียงใหม่ ซึ่งแต่ละกลุ่มล้วนนับถือพระพุทธ ศาสนาทั้งสิ้น โดยมีเมืองของโอมินทรนาคราช กามคุณเลย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More