ถิ่นกำเนิดบั้งไฟพญานาค ตำนานพญานาค สองฝั่งโขง หน้า 38
หน้าที่ 38 / 58

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความเชื่อเกี่ยวกับบั้งไฟพญานาคและผลกระทบของความเชื่อที่แตกต่างกันในกลุ่มผู้ถือศาสนา บทความชี้ให้เห็นว่าความเชื่อที่ขัดแย้งกันก่อให้เกิดความขัดแย้งสูงและส่งผลต่อพลังจิตของชาวพุทธที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รอบแม่น้ำโขง ความเชื่อที่ไม่มั่นคงและความไม่สามารถเข้าใจเทพเจ้าของแต่ละฝ่ายนำไปสู่อุปสรรคในการสร้างบั้งไฟพญานาคอย่างสวยงามในปัจจุบัน

หัวข้อประเด็น

-ความเชื่อทางพุทธศาสนา
-บั้งไฟพญานาค
-การทะเลาะเบาะแว้งทางความเชื่อ
-ภูมิศาสตร์ทางศาสนา
-อำนาจของเทพเจ้าที่แตกต่างกัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ถิ่นกำเนิดบั้งไฟพญานาค - ๓๗ นับถือเทพเบื้องบนคนละองค์ก็ทะเลาะเบาะ พุทธศาสนารวมถึงพญานาคที่เป็นสัมมาทิฏฐิ แว้งระรานกัน เพราะต่างมีความเชื่อว่าเทพ ที่ตัวนับถืออยู่สูงศักดิ์กว่า แต่ตัวเองก็ไม่เคย เห็น และไม่เคยเข้าถึง เทพที่ตนเองนับถือก็ ไม่เคยลงมาเยี่ยมทักทาย มันเป็นเพียงความ เชื่อเลื่อนลอยเท่านั้น แต่ความเชื่อเลื่อนลอยนั้น ถูกทึกทัก ด้วย จึงจำใจต้องย้ายถิ่นอพยพหนีความ รำคาญ แต่มิใช่เพราะความกลัว มาอยู่แถบ แม่น้ำโขง ซึ่งเป็นอาณาเขตนับถือพระพุทธ ศาสนา ปัจจุบัน พญานาคซึ่งถือกำเนิดแถบ แม่น้ำคงคา และแม่น้ำเนรัญชราต่างมิได้ถือ จากพวกมิจฉาทิฏฐิให้กลายมาเป็นความเชื่อ กำเนิดมาจากถิ่นที่มีชาวพุทธอยู่อาศัยอีกต่อไป จริงจัง เทวดารวมถึงพญานาคที่นับถือพระ พุทธศาสนาในถิ่นนั้นก็พลอยถูกระรานไปด้วย เมื่อเป็นมนุษย์พวกที่ต่างความเชื่อก็ระรานกัน ครั้นตายไปเป็นเทวดา พวกที่มีความเชื่อต่าง กัน ก็ระรานกันต่อ เทวดาทั้งหลายที่นับถือ จึงไม่ได้พ่นบั้งไฟเหมือนสมัยหลังพุทธกาล ยุคต้นๆ เพราะต่างมีความเชื่อในเทพเจ้าที่ เลื่อนลอย ไม่สามารถทำให้เกิดปิติ จึงไม่มี พลังพอที่จะกลั่นใจตนเองให้เกิดเป็นดวงไฟ สวยงามหลากสีได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More