บทลงโทษตามประสาพญานาค ตำนานพญานาค สองฝั่งโขง หน้า 33
หน้าที่ 33 / 58

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงบทลงโทษที่พญานาคมีหน้าที่ส่งอาหารเนรมิตให้พญานาคที่ถูกลงโทษ โดยมีวิธีการลงโทษตั้งแต่การจำศีลเพื่อสงบสติอารมณ์ ถึงขนาดกักบริเวณเพื่อให้ผู้ถูกลงโทษได้มีเวลาฝึกฝนสติและสำนึกผิด หากสามารถสงบใจได้ก็จะสามารถอยู่ได้จนถึงกำหนด ไม่ต้องรับประทานอาหารคล้ายกับสัตว์ที่จำศีลในฤดูแล้ง การจำศีลมีลักษณะการลดการเคลื่อนไหวและเสริมให้จิตใจสงบ สำหรับโทษที่ร้ายแรง ย่อมมีบทลงโทษที่ฮาร์ดคอร์กว่าด้วย และเกี่ยวข้องกับการพิจารณาจุตินิมิตของนาค รวมถึงการเลือกใช้วิธีการกับพญานาคที่ทำความผิด

หัวข้อประเด็น

-บทลงโทษพญานาค
-การจำศีล
-การสำนึกผิด
-วิธีการลงโทษ
-จุตินิมิตและการพิจารณา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๓๒ ( บทลงโทษตามประสาพญานาค ที่มีหน้าที่ส่งอาหารจะคอย เนรมิตอาหารให้กับพญานาค ที่ กําลังถูกลงโทษนั้น วิธีที่ ๓ สำหรับผู้ที่มีโทษ หนักขึ้นไปอีก จะถูกลงโทษให้ เข้าไปจำศีล หรือกักบริเวณ ที่ให้ทำเช่นนี้ เพื่อให้สงบสติ อารมณ์และสำนึกผิด การที่ จำศีลเช่นนี้ ผู้ที่ถูกลงโทษจะ ถูกบังคับให้อดอาหาร ถ้าหาก สามารถสงบสติอารมณ์ได้ มี จิตใจสงบไม่ฟุ้งซ่าน ก็สามารถ อยู่ได้จนครบกำหนด ลักษณะ การอยู่เช่นนี้ ก็คล้ายๆ กับกบ หรือปลาจำศีลในฤดูแล้ง หลัก การคือการเคลื่อนไหวร่างกาย จะต้องลดน้อยลง เป็นผลให้ การเผาผลาญอาหารลดต่ำลง สามารถอยู่ได้โดยไม่ต้องกิน อะไรตลอดฤดูร้อน ส่วนการจำศีลเพื่อให้ดวงแก้ว ดึงดูด แต่ถ้าหากว่า ไม่สามารถสงบสติอารมณ์ มหาสมบัติเกิดขึ้นนั้น เป็นการจำศีลแบบ ของตนเองได้ ธาตุไฟก็จะแตกหรือตายเพราะ ระยะสั้น บางครั้ง ๑ วันบ้าง ๓ วัน บ้าง ๕ อดอาหารในที่สุด การจำศีลเพื่อสำนึกผิดนี้ วันบ้าง ๗ วันบ้าง ต่างจากการจำศีลเพื่อเอาบุญของพญานาค วิธีที่ ๔ เป็นการลงโทษที่ร้ายแรงที่สุด ราชโอมินทรและบริวารที่ไปจำพรรษาที่แม่น้ำ สำหรับนาคที่ทำความผิดมาก เช่น คดีนาค โขง การจำศีลเพื่อเอาบุญนั้น นาคแต่ละตน สามารถกินอาหารได้ ถ้าต้องการกินและไม่ ถูกกักบริเวณ จอมเจ้าชู้ที่ผ่านมา การตัดสินต้องพิจารณา จากจุตินิมิตของนาคตนนั้นด้วยว่า มีลักษณะ เศร้าหมองหรือไม่ ต้องประกอบไปด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More