วารสารอยู่ในบุญ วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน มิถุนายน พ.ศ.2555 หน้า 90
หน้าที่ 90 / 92

สรุปเนื้อหา

วารสาร "อยู่ในบุญ" เป็นวารสารรายเดือนที่จัดทำโดยมูลนิธิธรรมกาย มีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแผ่ธรรมะและให้ความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา โดยเน้นการปลูกฝังคุณธรรมในสังคม การสนับสนุนการนั่งสมาธิอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้คนเข้าถึงธรรมและพัฒนาตนเอง ทางวารสารยังมีเนื้อหาเกี่ยวกับเหตุผลที่ทำให้หลายคนเข้าถึงธรรมได้ช้าหรือยาก และเสนอแนะการเพิ่มชั่วโมงการปฏิบัติธรรมเพื่อการเข้าถึงพระธรรมกายได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่เสียโอกาสในชีวิต

หัวข้อประเด็น

- วารสารอยู่ในบุญ
- การเผยแผ่ธรรมะ
- การนั่งสมาธิ
- การพัฒนาคุณธรรม
- ความสำคัญของการปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ที่ปรึกษา พระครูวิเทศปัญญาภรณ์ (สมบุญ สมมาปุญโญ) พระมหา ดร.สมชาย ฐานวุฑโฒ พระครูสมุห์วิษณุ ปญฺญาทีโป พระครูธรรมธรอารักษ์ ญาณารักโข พระครูใบฎีกาอำนวยศักดิ์ มุนิสกโก บรรณาธิการบริหาร พระสมบัติ รกฺขิตจิตโต กองบรรณาธิการ พระดร.สมศักดิ์ จนฺทสีโล, พระตรีเทพ ชินจุกุโร, พระสนิทวงศ์ วุฑฺฒิวํโส, พระมหาธีระ นาถธมฺโม, พระมหาจตุรงค์ จตฺตมโล, พระมหาเอก จนฺทูปโม พระธนรินทร์ สิริธโร, พระวรัช คุณงฺกโร พระสิปปภาส พรหมสโร, พระบริบูรณ์ ธมฺมวิชโช ผศ.สุภาศิริ พะหูชนม์, วรวรรณ ถนอมพงษ์, วันชัย ภัทรโกมล, วินิช พันธุ์วิริยรัตน์, สุธิดา จินดากิจนุกูล, รัดเกล้า ลิ่วเฉลิมวงศ์, น้ำผึ้ง พุ่มมาลี, ระพีพรรณ ใจภักดี, เมธินี จอกทอง, อรพรรณ วีระกูล, พงษ์วนาถ ดวงปาน, กําพล แก้วประเสริฐกุล, บุษบา ธาราสมบัติ กนกพร เทศนา, จันทร์จิรา มีเดช, รัตนา อรัมสัจจากูล, ประวีร์ ธรรมรักษ์, ผ่องศรี ทานาแซง, เทวี สุขศิริ, ปกรณ์ สิทธิวรนันท์ บรรณาธิการสารสนเทศ วรรณภา พลกลาง ฝ่ายภาพ ศูนย์ภาพนิ่งและบรรณาธิการภาพ ฝ่ายศิลปกรรม กองพุทธศิลป์, ลีอพงศ์ ลีลพนัง, ชัยชนะ กิตติโสภาพันธุ์ ภัทรา ศรีวสุธา, ศุภวิชฐ์ เหล่าเลิศพงษ์, สุพัตรา ปัญญาแสง, พีระ แสงงาม, สิริพันธุ์ สมาหารพันธุ์, สุภชา ศรีโสภิต ฝ่ายโฆษณา ปราณี ชัยผดุง ๐๘-๖๗๗๑-๒๒๖๘ ฝ่ายสมาชิก อรุณี พลกลาง ๐๘-๑๓๐๖-๕๓๙๓ โรงพิมพ์ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จำกัด จัดทาโดย มูลนิธิธรรมกาย วารสาร “อยู่ในบุญ” เป็นวารสารเพื่อการเผยแผ่ธรรมะ ในพระพุทธศาสนาเป็นรายเดือน มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ ๑.เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน ธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเกิดกำลังใจในการปฏิบัติธรรม เพื่อเข้า ถึงธรรมะภายใน ๒.เพื่อปลูกฝังคุณธรรมแก่ประชาชนทุก เพศ ทุกวัย ทุกอาชีพและทุกระดับการศึกษา ๓.เพื่อถ่ายทอดความรู้ในพระพุทธ ศาสนา ให้ง่ายแก่การนำาไปใช้ให้เป็น ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ๔.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้คนใน สังคมเป็นคนดีที่โลกต้องการ ๕.เพื่อเป็นสื่อกลางในการสืบทอดอายุ พระพุทธศาสนาให้เป็นที่พึ่งแก่ชาวโลกสืบไป เหตุผลหนึ่ง...ที่ทำให้เข้าถึงธรรมช้า มีคนเข้าวัดบางคนสงสัยว่า...ทำไมเข้าวัดตั้งนานแล้วยังไม่เข้า ถึงธรรมสักที? ทำไมคนเข้าวัดที่หลังถึงเข้าถึงธรรมก่อน หรือมี ประสบการณ์ภายในจากการนั่งสมาธิดีกว่า? เหตุผลหนึ่ง ก็คือ คนที่เข้าวัดทีหลัง อาจสั่งสมการนั่งสมาธิมา ข้ามชาติและทำถูกวิธีมากกว่า จึงทำให้เขานั่งปุ๊บ ก็เข้าถึงธรรมปั๊บ หรือเข้าถึงแบบง่าย ๆ หรือพูดให้เข้าใจง่ายขึ้น ก็คือ เราสั่งสมบุญ ในเรื่องของการนั่งสมาธิมาน้อยกว่าเขาหรือในอดีตเราขี้เกียจนั่งสมาธิ มามาก และยังมีเหตุผลที่ดูดีมากมายที่ทำให้เราไม่ให้โอกาสตัวเองใน การนั่งสมาธิอย่างเป็นประจำสม่ำเสมอ ดังนั้น...ชาตินี้หากเรารู้ตัวว่าเข้าถึงธรรมยาก หรือยังไม่เห็น ธรรมะกับเขาสักที ผู้มีปัญญาย่อมสอนตัวเองและถามตัวเองว่า ควร ขี้เกียจต่อไปอีกหรือเปล่า เพราะถ้าเราไม่เพียรพยายามปฏิบัติธรรม ให้เข้าถึงพระธรรมกาย เกิดมาชาตินี้ก็เท่ากับว่าเสียไปฟรี ๆ ๑ ชาติ รับประทานอาหารก็เสียเปล่า อย่างที่หลวงปู่วัดปากน้ำท่านใช้คำว่า “เสียข้าวสุก” เพราะเสียข้าวสุกไปแล้ว ได้กำลังมาแล้ว แต่ไม่นำกำลัง มาปฏิบัติธรรมทำใจให้หยุดนิ่งอยู่ที่ศูนย์กลางกาย เพื่อให้เข้าถึง พระธรรมกายในตัว ทั้ง ๆ ที่รู้ว่าเป็นของดีจริง ที่จะทำให้เราพ้นทุกข์ ได้จริง ๆ ๆ เมื่อเป็นดังนี้ เราก็ควรเพิ่มชั่วโมงหยุด ชั่วโมงนิ่ง นั่งสมาธิให้ เป็นประจำสม่ำเสมอทุก ๆ วัน เพื่อให้เราเข้าถึงพระธรรมกายได้ โดยง่ายโดยเร็วพลันนั่นเอง.....
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More