การบวชพระในยุคต้นพุทธกาล วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2555 หน้า 70
หน้าที่ 70 / 116

สรุปเนื้อหา

ในยุคต้นพุทธกาล การบวชในชนบทห่างไกลจากศูนย์กลางพระพุทธศาสนามีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยมีการประชุมสงฆ์เพื่อคัดกรองผู้บวชอย่างเข้มงวด อนุญาตให้มีการบวชในแบบญัตติดุตตกรรมตามกฎของพระพุทธองค์ ซึ่งการบวชนี้ทำให้มีพระภิกษุเพิ่มขึ้นจากหมื่นเป็นแสนในเวลาสั้นๆ การฝึกฝนคุณภาพของพระภิกษุและการรักษาศีล 227 ข้อเป็นปัจจัยสำคัญเพื่อการพัฒนาพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในหมู่สงฆ์เพื่อรักษาความเป็นระเบียบและความบริสุทธิ์ในสถาบันสงฆ์ นับเป็นขั้นตอนสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนให้แก่พระพุทธศาสนาในอนาคต

หัวข้อประเด็น

-การบวชพระในชนบท
-พระพุทธศาสนา
-วิธีการบวช
-คุณสมบัติของพระอุปสมบท
-การฝึกฝนพระภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เป็นพระอรหันต์เพิ่มขึ้นจากหลักพันเป็นหลักหมื่นอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาผ่านไปอีกหลายปี ในแต่วันชนบทที่ท่างไกล ออกไปจากแว้นมค ซึ่งเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในยุคต้นพุทธกาล ก็มีประชาชน นับถือพระพุทธศาสนาเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้จาดแคลน พระอรหันต์ที่จะเดินทางไปบวชได้ทั่วถึง พระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังทรงมีพระราชานุญาตให้ พระกายที่อยู่ในแผลจนบทเจ้าในพระองค์ก็ยังสามารถวบินรบพระองค์โดยไม่ลำบาก ใจในแต่ละบุคลทำการบวชด้วยวิธีการประชุมสม ซึ่งการบวชแบบนี้เรียกว่า "ญัตติดุตตกรรม" โดยให้ผู้งามร่วมกันพิจารณาถึงความเหมาะสมของผู้ขอบวชว่ามี คุณสมบัติพร้อมที่จะเป็นผู้บวช ฝึกฝนอบรมหรือไม่ และเห็นควรรับเข้าอยู่ในหมู่สงฆ์ หรือไม่ การบวชในเขตชนบททางไกลนั้นพระองค์ทรงกำหนดว่าวัดต้องเป็นวัดสงฆ์อย่างน้อยที่สุด จำนวน 5 รูป ส่วนการบวชในเขตตัวเมือง ทรงอนุญาตให้ประชมสงฆ์จำนวน 10 รูป ขึ้นไป สำหรับพระอุปสมบทต้องมีคุณสมบัติ 3 ประการ คือ 1. เป็นพระภิกษะระฝึกฝนอบรมมาตลอด เป็นต้นแบบความประพฤติดีได้ และมีพรษา ขึ้นไป 2. เป็นผู้มีความลาดในการคัดกรองคนและประกอบพิธีการบวชได้ดำเนินไปอย่าง ถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติ 3. เป็นผู้มีความสามารถในการเป็นครูอาจารย์ คือให้อารมณ์สอนพระภิษุ ใหม่ให้เป็นผู้เลี้ยงชีพด้วยการอธิษฐานของนักบวชได้ สอนให้มีศาลาจัดววดวงมาดงามได้ สอน ให้ตั้งมั่นอยู่ในพระธรรมวินัยได้ และสอบการเจริญฐานเพื่อการปราบกิเลสในตนได้ ทั้งนี้เพื่อให้กิฏฐิใหม่เป็นอายุพระพุทธศาสนา และเป็นเนื้อนาบุญของชาวโลก การบวชแบบนี้ดุติดฏกตกรวมเนื่อง เป็นเหตุให้การบวชพระภิกษุในเดินในนมที่ ห่างไกลแพร่หลายอย่างรวดเร็วเป็นอย่างมาก ยังผลให้มีจำนวนพระภิกษุที่สร้างบวรว ตลอดชีวิตเพิ่มขึ้นจากหลักหมื่นเป็นหลักแสนอย่างรวดเร็ว การบวชโดยการประชุมสงฆ์นี้ ในระยะแรกก็ยังไม่มีปัญหาแต่อย่างใด เพราะมีการ คัดกรองคนที่สมควรบวชอย่างรอบคอบและการอบรมคุณภาพไม่ย่อหย่อน พระสัมมา- สัมพุทธเจ้า จึงได้ทรงบัญญัติ"ปาติโมกข์"หรือศีล 227 ข้อ ซึ่งเป็นศิลาสำของ พระภิกษุในปัจจุบัน ครับต่อมาเมื่อการคัดกรองคนและการอบรมคุณภาพหย่อนลง จึงเป็นเหตุให้พระภิกษุบางรูปประพฤติผิดไม่เรียบร้อยและปัญหาเหล่านั้นใน หมู่สงฆ์ ซึ่งเรียกว่า "ต้นบัญญัติ" ทำให้หมู่สงฆ์ต้องถูกฏหมายจากโลกตะวันตก มัวหมองไปด้วย พระพุทธองค์จึงทรงรังเกียรติประมุขสงฆ์ และบัญญัติศาสนบทที่จะขอ ให้หมู่สงฆ์รับทราบและนำไปปฏิบัติให้ตรงกันเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมกันนี้การรัง กฏหมายขึ้นเป็นวัตรปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ตรงกันทั้งสิ้นสนมณฑล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More