ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประการได้แก่
๑. อินทรีย์สงบ คือ การสำรวมอินทรีย์ หมายถึง การรู้จักระวัดตน ทู จุม่า ล้น กายใจ ไม่ให้ผลไปดู ไปฟัง ไปพูด ไปดม ไปสัมผัส ไปสัมผัส ไปลงในสิ่งที่อยู่เยาว์ใจให้ อุทธกิจกรรมครอบงำ อันเป็นการเปิดช่องทางให้เลสาธิบุขึ้นมาบีบขังบังคับใจให้เกิดทุกข์เพราะตื่นหันในทันที
ผู็ฝึกความสำรวมอินทรีย์อย่างสม่ำเสมอ ย่อมเก็บไว้ในตัวได้เป็นปกติ ทำให้ใจคุ้นกับความสงบ ไม่พูดจา ไม่หลงไหลไปกับสิ่งยั่วยวนใจได้ง่าย เมื่อต่อความเจริญภาวนาใส่ใจคำ ไม่คิดฟุ้งซ่านไปบุบ รส กลิ่น เสียง สัมผัส และอารมณ์ต่าง ๆ ที่ชอบใจและไม่ชอบใจ ทำให้จงหยุดนิ่งเป็นสมาธิเหมได้รวดและบรรจงธรรมได้ไว
๒. โภชน มัดฐานะ คือ ความรู้ประมาณในการบริโภคอาหาร หมายถึง มีปัญญา ว่าการบริโภคอาหารก็เพียงเพื่อประทังชีวิตให้รอดตายได้ในแต่ละวัน เพื่อเติมตะ ๔ ให้บำร่างกาย เพื่อดับความวิปราศรัย เพื่อป้องกันโรคไข้เจ็บ ม Dig บริโภคเพื่อความเครียดอึดในรสอาหาร เพื่อความอยากหล่ออยากสวย เพื่อความเด่นหรูหราในหน้าตา ทั้งต้องไม่บริโภคมากเกินไป โดยยึดหลักว่า หากรู้ว่ารับประทาน ๔-๕ คำ แล้วดื่มน้ำลงไปก็อิ่มพอ ก็ให้หยุดรับประทาน ดังนั้นจึงเป็นต้องกลบอิ่มในจนให้พอเพื่อไม่ให้เหลือทั้งเหลือว่าง อันเป็นความสั้นปล้องและเพาะฉะนั้นไม่ดีให้เกิดขึ้นตามมาอีกมากมาย เช่น ความมักง่าย ความเห็นแก่ตัว เป็นต้น
ผู็ฝึกความรู้ประมาณในโภชนาการอย่างสม่ำเสมอ ย่อมทำให้เกิดผลดี ๒ ทาง คือ ทางกายกับทางใจ ในด่านทางกายย่อมทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรคภัยไขเจ็บที่เกิดจากการบริโภคเกินจำเป็น จากการตามใจปากตามใจท้อง หรือจากอาหารที่ไม่มีประโยชน์ เป็นโทษต่อร่างกาย ในด้านทางใจอย่าทำให้เสาสไม่สามารถอาศัยช่องทางที่ร่างกายถูกบังคับให้ต้องเติมอาหาร ๑ เลือดลอดเข้ามามึนใจให้เกิดความทุกข์ใจ ทำให้ใจไม่เกิดความอยากใดในสิ่งนี้นั่นฉันอำนาจิเลส ทำให้ทุกข์ในชีวิตประจำลดลง อาศัยข้าวเพียงไม่กี่ทัพพิดำรงชีวิตอยู่ได้ ไม่เป็นระในเรื่องการเลี้ยงดูของขาวาโลก เมื่อถึงคราวเจริญวาณากามิกทำให้ใจสงบนี้ได้รวด ไม่พูดจาอย่างเดียวตน ทำให้สามารถบรรจุธรรมได้เร็ว
๓. ชาครียานโยค คือ การประกอบความเพียรเครื่องดื่มอยู่ ซึ่งหมายถึงการเจริญภาวนาอย่างต่อเนื่องในทุกวิธีบำบัด นั่ง นอน ยืน เดิน ตลอดทั้งวันทั้งคืน เพื่อมุ่งปราบกิเลสให้หมดสิ้นไปอย่างเด็ดขาด อย่างไรก็ตาม ผู้ที่จะประกอบความเพียรได้ทุกอิริยาบถ เพราะสามารถสำรวมอินทรีย์และรู้ประมาณในการบริโภคอาหารเป็นนิจ ย่อมชวนให้การปฏิบัติอิมงค์ดั่ง ๕ สมบูรณ์ครบถ้วน โดยเริ่มตั้งแต่ ความเห็นทุกข์ในวัฏสงสาร ซึ่งเป็นความเห็นถูกต้องหรือสมมุติ ส่งผลให้ดีงาม การออกบวช ซึ่งเป็นความคิดถูกต้องหรือ