การประชุมและการเรียนรู้ในพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2555 หน้า 75
หน้าที่ 75 / 116

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความสำคัญของการประชุมทุก 15 วันในพระพุทธศาสนา ซึ่งช่วยเสริมสร้างความมั่นคงให้กับสมาชิก และคำอธิบายเกี่ยวกับเหตุผลในการเลือกวันประชุมที่มีความสัมพันธ์กับพระจันทร์ โดยการประชุมนี้มีความสำคัญต่อการทบทวนความรู้และการพัฒนาจิตใจสำหรับสมาชิก การเลือกวันประชุมในคืนเดือนหยายและเดือนมิดมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บรรยากาศเหมาะสมต่อการฟังธรรมและการอบรมจิตใจ ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันมายาวนานตั้งแต่สมัยก่อนพุทธกาล

หัวข้อประเด็น

-การประชุมในพระพุทธศาสนา
-ความสำคัญของการทบทวน
-บรรยากาศการฟังธรรม
-ธรรมเนียมปฏิบัติตั้งแต่โบราณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นักบวชชั้นนั้นใช้นับถืออธิการ อาจจะไม่ค่อยมีความรู้สึกชั้นนัก แต่เพราะอาศัยการประชุมพร้อมเพรียงกันทุก ๑๕ วันที่ ทำให้หมูของเขามั่นคงเป็นหนึ่งเดียว ประกาศที่ ๒ สมาชิกของเขายังครองเรือน ก็ยังใจมาฟังครูอาจารย์ของเขามาฟังนักบวชที่เขาเคารพนับถือ ให้ความอบอุ่น สมาชิกก็เพิ่มขึ้นมาตามลำดับ ๆ นับเป็นการเผยแพร่ เป็นการขยายงานไปสู่สมาชิกใหม่ ๆ ไปโดยปริยาย ทำไมต้องประชุมทุก ๑๕ วัน มีคำถามขึ้นว่าว่า ทำไมถึงต้องประชุมในวัน ๑๕ ค่ำ ด้วยเหตุผลนั้นเป็นเหตุผลตามธรรมชาติ นั่นคือ ใครก็ถามถึงแม้จะมีปัญญามากมายเพียงไร เมื่อได้ฟังคำเทคโนห์ ฟังคำสอนของครูอาจารย์แล้ว ไม่ว่าจะรักครูพ่อครูอาจารย์ของเขามากเพียงใด มีความชำนิชำนาญในหลักธรรมมากน้อยแค่ไหน แต่เป็นธรรมชาติของมนุษย์ว่าย หลังจากได้รับการอบรม การันตีไปแล้ว พอผ่านไป ๑๕ วัน ความสามารถในการจดจำของเขา ความขวนขวายที่จะประกอบความเพียร จะค่อย ๆ หย่อนลงไปเรื่อย ๆ พอครบ ๑๕ วัน เท่านั้น ก็สมแล้ว สบายใจเลย เพราะฉะนั้น ทุก ๆ ๑๕ วัน ก็จะต้องมีการทบทวนกันสักครั้งหนึ่งเป็นอย่างน้อย สำหรับในเมืองไทยเรา เมื่อพระพุทธศาสนาเข้ามาแล้ว บรรพบุรุษของไทยท่านก็พิจารณาว่าการทิ้งห่างในระยะเวลา ๑๕ วัน แล้วบทบาทบวชนั่นแหละ การทิ้งห่าง ๑๕ วัน สำหรับนักบวชก็ไม่ควรละล่า ต้องมาทบทวนกันอีกที แต่สำหรับชาวบ้าน ถ้าทิ้งทั้ง ๗-๘ วัน ความเพียรดี คว้าคีเลื่อน ค่ำเล่าค่าเตือนต่าง ๆ ก็ลืมหมดแล้ว ปู่ย่าตายายของไทยจึงนำอาหารจาก ๑๕ วัน ให้กลายเป็นทุก ๆ ๗ วัน โดยกำหนดวัน ๘ ค่ำ เข้ามาใส่ตรงกลาง เพราะฉะนั้น จึงเกิดขึ้นมานานบ้านเมืองไทยของเรา ทำไมต้องประชุมในวันเดือนหยางกับวันเดือนมิด คำถามต่อมา ทำไมต้องเลือกเอาวันเดือนหยาย (คำเรียกคืนที่ดวงจันทร์ส่องแสงสว่างมาก โดยปกติหมายถึงคืนที่มีพระจันทร์เต็มดวง) เดือนมิดด้วย (หมายถึงคืนที่งไม่เห็นดวงจันทร์) ความมุ่งหมายจริง ๆ นั้น มุ่งเอาที่คืนเดือนหยาย เพราะบรรยากาศของคืนเดือนหยายเหมาะต่อการฟังเทคนิค เหมาะต่อการอบรมจิตใจ แต่ช่วงระยะเวลาระหว่างเดือนหยาย ๓๐ วัน นั้นนานไป จึงแบ่งช่วงชั่วโมงออกเป็นวันที่เดือนเต็มดวงบัว วันนี้เดือนเต็ม ดินเดือนหยายมีบรรยากาศที่เหมาะแก่การฟังธรรมมีเหลือเกิน เพราะเห็นหน้าเห็นตากันขัดท้องฟ้าแจ่มใส ได้เวลาเที่ยงกลางแจ้งจันทร ดินเดือนมิดชอบหน้าไม่ทัน ก็แบ่งเวลาว่างกันไป เป็นการเทศนาเหมือนกัน แต่ว่าเป็นการเทคนิคในสมาธิ ผู้ที่ตื่นกลัวเทคนิค คนฟังก็ลำบาก ทำสมาธิได้ด้วย เกิดเป็นธรรมเนียมปฎิบัติซิ่นมา ธรรมเนียมนี้ เป็นธรรมเนียมของนักปราชญ์ผู้มีจิตตั้งแต่ดยก่อนพุทธกาลมาแล้ว สังเกตนี้เป็นความลาดของคุณโน้น ที่รู้จักใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ทำให้เขาประดับประดาหมู่คนมาได้ เพิ่มความเข้มแข็งให้หมู่ได้ นักปราชญ์ผู้ตั้งแต่ดินเขาทำกันอย่างนี้มาทุกยุคทุกสมัย หลวงพ่อเคยเยือนอินเดียหลายครั้ง ก็พบว่าธรรมเนียมนี้นะเขาทำกันอยู่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More