การเร่งรัดความมั่นคงในพระพุทธศาสนา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2556 หน้า 79
หน้าที่ 79 / 124

สรุปเนื้อหา

การรักษาพระพุทธศาสนาให้ดำรงอย่างยั่งยืนต้องสร้างสังคมสงฆ์ให้เข้มแข็ง โดยอาศัยการเรียนรู้และปฏิบัติธรรมตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อช่วยกันสร้างผู้นำและความรู้ให้กับประชาชนในการบรรลุนิพพาน ผ่านการปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน เฉพาะในยุคที่เต็มไปด้วยอุปสรรค ความมุ่งมั่นและการร่วมมือกันจึงเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้คำสอนเหล่านี้ถูกส่งต่อไปยังคนรุ่นหลังอย่างมีคุณค่าและประสิทธิภาพ.

หัวข้อประเด็น

- การเร่งรัดความมั่นคงของพระพุทธศาสนา
- กิจกรรมและการปฏิบัติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
- การสร้างสังคมสงฆ์ที่เข้มแข็ง
- ความสำคัญของการเรียนรู้และการฝึกปฏิบัติธรรม
- แนวทางการบรรลุนิพพาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดังนั้น จากการศึกษาวิธีการเร่งรัดความมั่นคงให้กับพระพุทธศาสนาตามลำดับ ฯ เรา ย่อมเห็นภาพรวมแล้วว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปพร้อม ฯ กับการสร้างความมั่นคงทั้ง ๔ แนวทางให้กับพระพุทธศาสนาอย่างเป็นระบบที่ชัดเจน ทำให้ สังคมพุทธและสังคมสงฆ์สามารถพินิจภายนอกช่วยกันรักษาองค์พระธรรมวินัยได้นั้นคงและสามารถ สร้างผู้นำการบรรจงสรรมุนใหม่ ๔ ให้บังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งสามารถดำรงคงอยู่ มาตราบกระทั่งทุกวันนี้ เพราะเหตุนี้ การที่เราจะรักษาพระพุทธศาสนาให้ดำรงคงต่อไปอย่างยั่งยืน ก็ต้องช่วยกันสร้างสังคมหยุดให้เข้มแข็ง ด้วยการทำหน้าที่ประจำที่ ๖ สร้างสังคมสงฆ์ให้เข้มแข็งด้วย อธิษฐานธรรม สร้างความมั่นคงของพระธรรมวินัยให้เข้มแข็งด้วยการเรียนรู้และปฏิบัติ อย่างเจริญรุด ทั้งสร้างความมั่นคงของการบรรจงสรรมุนให้เข้มแข็งด้วยการเกี่ยวข้องอบรม ตนเองให้นำพืชภูมานานกระทั่งสามารถเป็นผู้นำการบรรจงสรรมุนให้แก้ประชาชนนนั้นเอง การฝึกความรู้ประมาณ เพื่อนำโทษแหกออกจากวัฏสงสาร เมื่อเราได้ศึกษาการวางรากฐานของพระพุทธศาสนาตามลำดับจนถึง ณ. จุดนี้ ย่อม เห็นภาพรวมของพระภารกิจเร่งด่วน ๓ ประการอย่างชัดเจนแล้วว่า หลังจากที่ได้สวยมุตติมูตภู จากการตรัสรู้ตามรากฐานพงศ์องค์เพียงชั่วเวลา สั้น ๆ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงต้องแบกรับการหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดของคนทั้งโลกไว้เพียงลำพังพระองค์เดียว แต่ด้วย พระปิยมหาราชของพระองค์ จึงทรงสามารถเร่งสร้างคน เร่งสร้างครู เร่งสร้างความมั่นคง ด้วยพฤติภิจประจำวัน ๕ ประการ ตั้งแต่กำเนิดวันหนึ่งไปจนจรดใกล้รุ่งของช่วงหนึ่ง กล่าวคือ เวลาเช้าสดชื่นบาน เวลายืนทรงแสดงธรรม เวลายื่นคำประกาศ แก่กิฎ ยา เที่ยงคืนกลางตอบปัญหา ฯลฯ เวลาอำนวยทรงตอบปัญหา เวลาย่ำทอดพระเกตสารวเทพสัตว์โลกผู้คู่ ตรีสู่ เพื่อเสด็จไปโปรด พระองค์ทรงงานนั่งทำงานขนาดนั้นตลอด ๕ พระยา เพื่อ บอกความจริงของชีวิตให้ชาวโลกรู้ว่า ท่านทั้งหลายเป็นนี้นักโทษผิดอยู่ในทุกแง่หัวใจสูงสาร พร้อมทั้งบอกหนทางหลุดพ้นจากทุกข์ และพ้นจากทุกแห่งรังสรรค์ให้เขาออกไปด้วย แม้แต่ วาระสุดท้ายก่อนจะเข้าสดับดับดับบันอิสรภาพ ก็ทรงทำหน้าที่ของพระบรมศาสดาผู้ยิ่งใหญ่ เพื่อดักทุกข์เชิญและเพื่อนอธิษฐานชำระโลกให้หลุดพ้นจากวัฏวายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสาร ด้วยการสรุปคำสอนอธิษฐานอริยมรรคองค์ ๘ ลงเพียงสั้น ๆ ว่า “ความไม่ประมาณ” เพื่อการบรรล มรรค ผล นิพพาน ของชาวโลกในภายหน้าต่อไป จึงเกิดคำถามตามมาว่า พระพุทธองค์ทรงกระทำพุทธภารกิจอันยิ่งใหญ่ทั้ง ๓ ประการนี้ให้สำเร็จลงได้อย่างไร ท่ามกลางอุปสรรคปัญหามากมาย ทั้งทุกข์ในชีวิตประจำวันของ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More