การใช้เวลาเพื่อการพัฒนาชีวิตตามอริยมรรคองค์ ๘ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มีนาคม พ.ศ.2556 หน้า 81
หน้าที่ 81 / 124

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงการใช้เวลาในการฝึกอริยมรรคองค์ ๘ เพื่อเสริมสร้างปัญญาและลดกลิเลส โดยเสนอให้มีการฝึกฝนในชีวิตประจำวัน ผ่านการรักษาศีลและการเจริญภาวนา นอกจากนี้ยังพูดถึงวิธีการต่อต้านกลิเลสด้วยการใช้ปัจจัย ๔ ในการดำรงชีวิต โดยมีการอธิบายถึงผลกระทบจากการติดกับสิ่งต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดทุกข์ ภิกษุสามารถรู้จักการประมาณในการใช้ปัจจัยที่มีอยู่ได้ จะนำไปสู่ความสำเร็จในการปฏิบัติให้หลุดพ้นจากวิถีสงสารได้ในที่สุด โดยมีการยกตัวอย่างจากคำสอนในพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการเข้าใจถึงความเป็นจริงของชีวิต

หัวข้อประเด็น

-การใช้เวลาในการพัฒนา
-อริยมรรคองค์ ๘
-การลดกลิเลส
-การรักษาศีล
-การเจริญภาวนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ที่แท้จริงในชีวิต อย่างไรก็ดีตาม เวลาที่จะนำประโยชน์มาสู่ชีวิต ก็ คือ ก) เวลาที่ใช้ฝึกฝนอริยมรรคองค์ ๘ ในชีวิตประจำวัน มีการทำนาม การรักษาศีล และ การเจริญภาวนา ซึ่งนอกจากจะก่อให้เกิดปัญญาคิดใตรตรงโดยแยบคายแล้ว ยังสามารถลดวิชชาของตนเองอีกด้วย ข) เวลาปักวิภาคเพื่อบำเพ็ญภูมิคุ้มกันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการปฏิบัติอริยมรรคองค์ ๘ เพื่อปราบกลิเลสโดยตรง ๒. โทษข้อ ๒ คือจะต้องใช้อุปกรณ์อะไรในการฝึกความปรมาราณ คำตอบคือ ใช้ “ปัจจัย ๔” เป็นอุปกรณ์สำหรับความรู้ปรมาราณ วิธีการสู้กับกลเลสของพระองค์นั้น เป็นวิธีการแบบหนามนอกเอาหนาเม็ด กล่าวคือเมื่อกลเลสใช้ความอยากมีปัจจัย ๕ เป็นแต่นิพพานดินา พระองค์ก็ทรงใช้ความรู้ปรมาราณในปัจจัย ๕ สู้บันดา ดั่งที่สร้างไว้ใน “ต้นมารดา ส ๔” ว่า “ดูก่อนภิกขุทั้งหลาย ต้นหนามเมื่อเกิดขึ้นแท้ก็ย่อมเกิดขึ้นเพราะเหตุแห่งจีร ๑ เพราะเหตุแห่งสนะ ๑ หรือเพราะเหตุแห่งสมบัติ ๑ และด้วยเหตุ ๑ ... บุรุษมีต้นมารเป็นเพื่อน แล่นไปสู่ความเป็นอย่างนี้ และความเป็นอย่างนี้ตลอดกาลนาน ไม่อาจผ่านสารไปได้ ภิกษุจักโกฯนั่น รู้จักต้นหนามเป็นแตนเกิดแห่งทุกข์ จึงเป็นผู้ปรารภจากต้นหา ไม่มีความยึดถือ มีสีล พึงวันรอบ” จากพระดำรัสนี้ ย่อมเห็นได้ชัดแจ้งว่า ต้นหนามจะเกิดขึ้นเพราะบุคคลตามตน ทำให้ขาดความรู้ปรมาราณในเครื่องนุ่มนวล อาหาร ที่อยู่ อาศัย หรือเพราะความอยากได้สมบัติจำนวนมาก ฯ เนื่องจากกลัวว่าจะมิได้มาแล้วจะสูญสิ้นไปด้วยภัยพิบัติ บุคคลที่เป็นทาสของต้นหา ไมใช่ความยึดถือในเรื่องการบริโภคปัจจัย ๔ (รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ) ในที่สุดก็จะติดนิสัยละโมบโลกมาก มีพฤติกรรมเบียดเบียนผู้อื่นอย่างไร้ความละอาย ซึ่งอาจจะเป็นการในที่สุดก็จะกลายเป็นอาชญาอย่างต่อเนื่องแล้ว ยังจะต้องอยู่ในคุกตลอดกาลนาน ในท่ามกลางกัน บุคคลที่ซะรหนักในโทษภัยของต้นหา แล้วพยายามบอมตนให้มสีดอยู่เสมอ รู้จักประมาณในการบริโภคอุปโภคเป็นอย่างดี ใช่มิฉะนั้นมัน ย่อมประสบผลสำเร็จในการปฏิบมรครมณ์๘ จังหวัดจากวิถีสงสารได้ในที่สุด (อ่านต่อในหน้า)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More