การฝึกฝนการทำงานและการป้องกันความสะเพร่า วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน เมษายน พ.ศ.2557 หน้า 64
หน้าที่ 64 / 104

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของการฝึกฝนการทำงานและวิธีการป้องกันความสะเพร่า ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน หากไม่มีความระมัดระวังจะนำไปสู่อุปสรรคในการทำงาน เช่น การใช้เครื่องมือไม่ถูกต้องหรือการจัดเก็บไม่เป็นระเบียบ ซึ่งอาจส่งผลให้ของเสียหายได้ การทำงานอย่างมีระเบียบช่วยเสริมสร้างนิสัยที่ดีให้กับตัวเอง และสามารถถ่ายทอดให้กับลูกหลานเพื่อให้พวกเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความรับผิดชอบและความตั้งใจในการทำงาน

หัวข้อประเด็น

-การฝึกฝนการทำงาน
-การป้องกันความสะเพร่า
-การจัดการความเสี่ยง
-นิสัยในการทำงาน
-การสอนลูกและหลาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อชี้พระสัมมา สัมพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า “แม้จะถูกสิ่งมันคั่งเป็นมรสุมสู้ ถ้าคุณในบ้านหรือข่าวไฟไหม้ของไม่รู้จักประมาณ ของขายไม่เท่า ของเสียไม่น้อย ตะกรู่นั้นมีสีที่สีส้มลำลำสามารถได้ การใช้งานไม่รู้จักประมาณ หรือทีเรียกว่าสะเพรานั่น คือ การนำของมาใช้ผิดประเภทบ้าง ยกตัวอย่างเช่น ตะปูควงกดถอดขึ้นหรือสกรู (Screw) ถอดขึ้น แทนที่จะเอาไขควงมาไขกลับมาดับปลายเหล็มมาไขแทน ปลายมิดจึงบิดเบี้ยวเสียหายเป็นต้น หรือวางจากไม้สำหรับจัดนิทรรศการ เมื่อจัดเสร็จวางไว้กลางแจ้ง ไม่จัดเก็บให้เข้าที่พอฝนตกลงมาซู่เดิม ไม้อัดเปียกพองเสียหายหมดเลย ใช้งานได้แค่เดียงเดียว ไม่่ว่าจะทำงานหรืองานที่บ้าน ก็ต้องฝึกด้วยกันทั้งนั้น เมื่อมีโอกาสไปเป็นหัวหน้าในภายในงาน จะได้รับคบอ ไมค่อยผิดพลาด เป็นแบบอย่างที่ดี คนที่ดูนิสัยสะแพร่ตั้งแต่เด็กพอโตเป็นผู้ใหญ่จะเอาดีไม่ได้ ถึงจะมีความรู้เพียงใดก็ตาม ถ้าลงเป็นคนสะเพร่าเสียแล้ว ก็ไม่รอด ดังนั้นใครก็ตามที่มีลูก มีหลาน ให้ใช้งานเสียตั้งแต่ยังเล็ก ทำผิดทำถูกอย่างไรก็น่า ส่งสอนกันไป พูดให้จะได้ทำงานเป็น. (อ่านต่อฉบับหน้า)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More