การจัดการกับความโกรธและกรรม วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน เมษายน พ.ศ.2557 หน้า 72
หน้าที่ 72 / 104

สรุปเนื้อหา

การควบคุมอารมณ์และความโกรธในชีวิตได้มีวิธีการและแนวทางที่ช่วยให้ใจสงบ เช่น การคิดเมตตาใจกรุณาแทนการโกรธ และเรียนรู้ที่จะอโหสิกรรม ไม่ต้องไปสนใจความโกรธหรือปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต บทความยังกล่าวถึงกรรมและผลของการกระทำ โดยเน้นว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตทุกอย่างล้วนเป็นผลจากกรรมที่เราสร้างมา การไม่เก็บความโกรธไว้จะช่วยให้เราเข้าใจถึงการดำรงอยู่อย่างสงบสุขในทั้งชาตินี้และชาติหน้า การมองโลกในแง่ดีและทำใจให้ผ่องใสจะช่วยสร้างชีวิตที่มีความสุขได้ตลอดเวลา

หัวข้อประเด็น

-การจัดการกับความโกรธ
-การอโหสิกรรม
-กรรมและผลของกรรม
-การมีชีวิตที่มีความสุข
-การมองโลกในแง่ดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ดีการไปโกรธเขา ให้ดินแดนสร้างสรรค์แทน คิดเมตตา คิดกรุณา แต่ไม่ใช่มุทิต เพราะมุทิตา คือเขาได้ดีเกิดใจด้วย คำว่าเจริญมุทิตาไม่ใช่กับเรื่องนี้ ข้อที่ ๓ กล่าวถึงอเบกขา ให้ความใจกลาง ไม่ใสใจอะไร มาก ข้อนี้ค่อนข้างสดคล้องกับ ข้อ ๔ คือ ไม่ทัก ไม่สนใจ ค้นนี้คือระดับของแต่ละคนว่ารู้แร่แขนไหน ถ้าร่ายมาก ๆ เข้ากลายเมื่อโรคมีมีเชื้อไฟตลอดเวลา เราเองยังไม่ถึงขั้นขาดหมดก็เลย แบบนี้ ก็หาย ไว้ อย่าไปทัก อย่าไปสนใจ บางคนอยู่ว่าสบดีอย่างนี้ ถึงเวลาไปไหว้ แล้วก็มีปัญหาขึ้นมาทีหลัง คนนี้ก็ ยิ่งโกรธไปใหญ่ เป็นริดกากรามกับตัวเองด้วย ฉะนั้นถ้าทำไม่มีตีโรคไม่ต้องไปทัก ไม่ใสใจ ไม่สนใจ อันนี้เป็นวิธีการที่ช่วยได้อีกวิธีหนึ่ง ข้อที่ ๔ คือให้้น้ำว่าคนเรามีกรรมเป็นผ่านพันธุ์ ที่เราย่อมว่าเป็นกรรมพันธุ์ กรรมเป็นเครื่องจำแนกเผ่าพันธุ์ของสัตว์ เพราะฉะนั้นทำอะไรได้เองอย่างนั้น นั้นเราไปโกรธเขาเลย เดี๋ยวกฎแห่งกรรมจัดการเอง ถ้าคิดได้แบบนี้จะนึกสสารเหมือนอย่างข้อข้างต้น ทั้ง ๕ ข้อนี้เป็นกระบวนการสัมพันธ์กัน เกิดต่อเนื่องกัน ไม่ใช่แตกขาดข้อหนึ่ง เพราะฉะนั้นนักอย่างนี้แล้วเราจะได้ปลอดโปร่งใจ หรือแทนที่จะเป็นสิ่งนำอย่างข้ออื่น คิดอย่างนี้แล้ว คบกันอย่างนี้ ก็คิดว่าคงเป็นวิบากกรรมของเรา แสดงว่าภายในดีเราต้องทำอะไรบางอย่างเอาไว้ ถึงได้เจออย่างนี้ เพราะฉะนั้นให้ปลดนี้เลย อย่าไปต่อกรรมใหม่ แล้วก็อโหสิกรรม ให้ภูมิทุกคน ไม่โทษโกรธเถือใคร เราเองก็รับวิบากกรรมในดีดีของเราเอง ส่วนเขาจะเป็นอย่างไรก็ต้องรับของเขาไป เราจะไม่โกรธและไม่ผูกโกรธกันต่อไป คิดอย่างนี้แล้ว คลอดกรรมในใจจะคลี่คลายและเบาบาง สรุว่าว่านร้อนหรือเย็นอยู่ที่ช่องของเรา ไม่ได้อยู่ที่อากาศใช่หรือไม่? ใจเราเป็นหัวใจหลัก อย่างอื่นเป็นแค่ส่วนประกอบเท่านั้น ที่จริงมีข้อคิดเรื่องหนึ่งซึ่ง พระครูบัณฑูร สุจิตฺโธ คุ้งช่วยเจาะอาวาสวัดธรรมกาย เคยกล่าวเอาไว้นึกคิดเดียว ท่านพูดเป็นคำไวว่า ฟันนาคคล้ายหมอนมหงษ์ เพราะฝันละอองมาบดบัง เราดูฟ้าคล้ายหมอน เพราะมัวมองแต่ฝุ่นบ่ง แต่จริง ๆ ฟ้าไม่ได้มอง ฟ้ากังเป็นฟ้าอยู่จังนั้น บางทีฝุ่นมีอะไรมา บ้างถหากเรา มัวมองแต่ฝุ่น เราจะรู้สึกว่า ฟ้าท่อนไม่ฟ้าอย่างนั้นไปเรื่อย แต่ถ้าเรามองดี ๆ จะพบว่า ทิจริงฟ้า ก็เป็นฟ้า ฝุ่นละอองพาดมาเดี๋ยวก็พัดไปที่อื่น เรื่องราวในชีวิตคนเรากัน เดี๋ยวเรื่องนี้ก็มาเดี๋ยวเรื่องนี้ก็ไป หมุนเวียนเปลี่ยนกันไป แล้วเวลามองอะไรในเบาบาง มองด้วยความเข้าใจ โดยยากใจเราให้สูงขึ้นจากเรื่องราวที่มามีภาระทบ แล้วเรื่องราว ๆ ให้มองเป็นเรื่องเล็กนิดเดียว แล้วก็ให้ผ่านใจเราไป อย่าไปเก็บเอาไว้ สุดท้ายใจเราจะผ่องแผ้ว มีแต่สิ่งดี ๆ อารมณ์ดี ครวญบ ก้าน ทุกวัน ทุกปี และทุกเวลา ผิวพรรณวรรณก็ผ่องใส นอนเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ชีวิตมีความสุขตลอดทั้งชาตินี้และชาติหน้า.. ๑๑ อยู่ในบุญ เมษายน ๒๕๕๗
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More