รัฐศาสตร์เชิงพุทธ: การพัฒนาที่อยู่เย็นเป็นสุข วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2552 หน้า 57
หน้าที่ 57 / 120

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับรัฐศาสตร์เชิงพุทธ โดยเน้นการทำงานร่วมกันของประชาชนในสังคมไทย การปฏิบัติธรรมไม่ได้เป็นเพียงการดูแลตัวเอง แต่ต้องเชิญชวนผู้อื่นเข้าวัดเพื่อสร้างสังคมที่สงบสุข มีการเปรียบเทียบประเทศไทยเหมือนเรือลำหนึ่งที่ต้องพายร่วมกัน เพื่อให้คนในสังคมมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สิ่งดีๆ หากคนในบ้านไม่ได้มีส่วนร่วมในการเชิญชวนกัน ก็ถือว่าบกพร่อง การอ่านหนังสือรัฐศาสตร์เชิงพุทธจะช่วยให้เข้าใจการปกครองที่ถูกต้องและแรงจูงใจในการแก้ไขปัญหาในบ้านเมืองได้.

หัวข้อประเด็น

- การปกครองที่ถูกต้อง
- การทำงานร่วมกันในสังคม
- การใช้หลักธรรมในการพัฒนาสังคม
- ความสำคัญของการชักชวนผู้อื่น
- ปัญหาในบ้านเมืองและการแก้ไข

ข้อความต้นฉบับในหน้า

รัฐศาสตร์ เชิงพุทธ และจากกราฟทักษิโณมิค พระพุทธศาสนาเข้าไปใช้ พระสงฆ์และชาววัด ด้วย ถ้ามีใครคนใดคนหนึ่งไม่ช่วยกันพาย เรือก็ ต้องทำหน้าที่นำพระพุทธศาสนาไปช่วย แล้วโลก หนัก พายไม่ไหว ด้วยเหตุนี้การเข้าวัดปฏิบัติ จึงจะอยู่เย็นเป็นสุข เพราะฉะนั้น ใครเข้าวัดแล้วคิดว่าจะ ปฏิบัติธรรมเพื่อตัวเองเท่านั้น โดยไม่คิดว่าจะ ชักชวนคนอื่นเข้าวัดด้วย ความคิดนี้ผิดตั้งแต่ต้น จะตัวใครตัวมันไม่ได้ เพราะถ้ามองว่า ประเทศ ไทยเป็นเรือลำหนึ่ง มีประชากรอยู่บนเรือ ล้านคน ทุกคนบนเรือต้องช่วยกันพายเรือ เรา พายแล้วยังไม่พอ ต้องเป็นคนอื่นไปช่วยกันพาย ๖๓ ธรรม อย่าว่าแต่ไม่ชวนเพื่อนบ้านมา แค่ไม่ชวน คนในบ้านมาให้ครบ ก็ถือว่าบกพร่องแล้ว หลวงพ่อขอฝากด้วย ส่วนรายละเอียดต่างๆ ขอให้ไปอ่านดู ในหนังสือรัฐศาสตร์เชิงพุทธ เพื่อจะได้รู้ว่าการ ปกครองที่ถูกต้องเป็นอย่างไร แล้วจะทำให้เรา ตั้งหลักได้ง่าย มีอะไรผิดพลาดในบ้านเมือง เดี๋ยว แก้ไขได้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More