หลักฐานโบราณแห่งพระบรมสารีริกธาตุ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558 หน้า 54
หน้าที่ 54 / 124

สรุปเนื้อหา

หลักฐานโบราณที่สำคัญในยุคนี้คือผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่พบที่มาสูญของพระเจ้านิถานะนอกจุ้งเปวาร์ ประเทศปักกลา สถาน ซึ่งมีอักษรโบราณจารึกที่ผอบและเป็นที่เก็บรักษาในพิพิธภัณฑ์ส่วนพระบรมสารีริกธาตุวัดนรัญญะญิญญาโดยมีการขุดค้นทางโบราณคดีในเมืองสำคัญเช่นบาช บามียะ ตลอดจนแสดงถึงอิทธิพลทางศาสนาและการค้าขายในแถบคันธาระและแบนเกอเทรีย

หัวข้อประเด็น

-พระบรมสารีริกธาตุ
-ค้นคว้าโบราณคดี
-คันธาระและอิทธิพลทางศาสนา
-การค้าในสมัยโบราณ
-พิพิธภัณฑ์วัดนรัญญะญิญญา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานโบราณที่สำคัญของยุคนี้ คือ ผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ จุดพบที่มาสูญพระเจ้านิถานะนอกจุ้งเปวาร์ ประเทศปักกลา สถาน ฝาผนเป็นรูปพระพุทธเจาประทับบนดอกบัวพร้อมเทวดา จารึกที่ผอบเป็นอักษรโบราณ มีใจกว่าจิตอธิษฐานว่า "ทาสสัตย์คำเล่าผู้ควบคุมงานทีวีราชนา" ในอาณาจักรของมหาเสนา ปัจจุบันผอบเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์ส่วนพระบรมสารีริกธาตุวัดนรัญญะญิญญาไปประดิษฐานในเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๓ ผอบบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พุทธศตวรรษที่ ๗ ที่มา http://www.thefridaytimes.com/beta3/tft/article.php?issue=20110715&page=16 แคว้นคันธาระ เมืองเปาวาร์ แคว้นแบนเกอเทรีย และบริเวณใกล้เคียง อันเป็นบริเวณเสนามการค้าขายโปราณ ไปสู่เมืองทวิมและอินทวัตนอน จาก http://pro.geo.univie.ac.at/projects/khm/showcases/showcase14 ร้องอาราธนาธรรมทางพระพุทธศาสนาได้รับการขุดค้นทางโบราณคดีในเมืองสำคัญ ๆ ของคันธาระและแบนเกอเทรีย ได้แก่ เมืองบาช บามียะ ยัดดา ในอิทธิพลสถานปัจจุบัน และในแถบสวาด เมืองเปาวาร์ ตัศลีลา ของปักกลา ด้านข้างยอดดนู เป็นรูปเทวดิประกาศในราษฎ์น่ารัก สองข้างเป็นเทพดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ในศาสนาของอิหร่าน ที่มา http://toniaivadantoc.com/c/2011040612041245/chuong-iv-vua-kanishka-va-su-phat-trien-cua-phat-giao-dai-thua.htm อยู่ในบุญ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More