ความหมายของคำว่า 'ดูสัตบุรี' ในพระไตรปิฎก วารสารอยู่ในบุญประจำเดือนมิถุนายน พ.ศ.2559 หน้า 33
หน้าที่ 33 / 140

สรุปเนื้อหา

คำว่า “ดูสัตบุรี” มีความหมายว่า “สวรรคั้นดูสี” และเป็นที่ประทับของพระบรมโพธิสัตว์และพระอรหันต์ในพระไตรปิฎก พบได้ในหลายแห่ง เพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับคำนี้ในพุทธศาสนา ผู้คนควรเปิดใจอ่านข้อความที่มีหลักฐาน ไม่ควรเชื่อถือความคิดเห็นที่ไม่เคยมีการศึกษาอย่างจริงจัง เช่นเดียวกับที่มีการอ้างถึงในนิยายมหาวรรค อรรถกถามหาโควิณสูตร.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของดูสัตบุรี
-ที่มาของคำในพระไตรปิฎก
-พระบรมโพธิสัตว์
-ความสำคัญของคำในพุทธศาสตร์
-การอ่านและศึกษาพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เรื่องคำว่า “ดูสัตบุรี” ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่พวกคนไม่ชอบบวชพระธรรมกายในโลกโซเชียลนำไปประเด็นถล่มแฉ แกนนำเห็นเบา ๆ ว่า “คำนี้มีในพระไตรปิฎก” ช่างก่อนอนว่า “ดูสัตบุรีเป็นชื่อหมู่บ้านจัดสรรของชาวรวมภาวนา” หากอ่านมาถึงบรรทัดนี้ ก็ยากให้ลองเปิดใจกว้าง ๆ คำว่า เราดลอยตามกับสิ่งที่เขาคอมเมนต์กันมาแบบมั่ว ๆ หรือเปล่า? และที่สำคัญในฐานะที่เราเป็นชาวพุทธ เคยหยิบพระไตรปิฎกอ่านหรือปิดดูกันไหม? ครวนี้เราลองมาดูข้อมูลที่แท้จริงบ้างว่า คำว่า “ดูสัตบุรี” หมายถึงอะไร? “ดูสัตบุรี” หมายถึง “สวรรคั้นดูสี” หรือ สวรรคั้นดูสี” ซึ่งเป็นที่ประทับของเหล่าพระบรมโพธิสัตว์ทั้งหลาย รวมถึงเหล่าพระอรหันต์ทั้งปวง อีกทั้งคำว่า “ดูสัตบุรี” ยังปรากฏอย่างชัดเจนในคัมภีร์พระพุทธศาสนาอยู่หลายแห่ง เช่น ในพระไตรปิฎกและอรรถกถา ฉบับมหากูฎฯ เล่ม ๑๔ หน้า ๒๑–๒๓ ที่มีนิยายมหาวรรค อรรถกถามหาโควิณสูตร ดังนี้ “...แม่บุตรภาพถัดจากอัตภาพเป็นพระวาสนดุษฎี ปลีดดำรงอยู่ใน “ดูสัตบุรี” ตลอดพระชมมายุ ก็ชี้ว่า นอกจากนี้ยังปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก abandoned ฉบับมหากูฎฯ เล่ม ๑๔ หน้า ๒๑–๒๓ ที่มีนิยายมหาวรรค อรรถกถามหาโควิณสูตร ดังนี้ “...แม่บุตรภาพถัดจากอัตภาพเป็นพระวาสนดุษฎี ปลีดดำรงอยู่ใน “ดูสัตบุรี” ตลอดพระชมมายุ ก็ชี้ว่า นอกจากนี้ยังปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก abandoned ฉบับมหากูฎฯ เล่ม ๑๔ หน้า ๒๑–๒๓ ที่มีนิยายมหาวรรค อรรถกถามหาโควิณสูตร ดังนี้จากตัวอย่างของคำว่า “ดูสัตบุรี” ที่ปรากฏในพระไตรปิฎกอ้างอิงให้ดูนี่ เป็นเพียงแต่ส่วนหนึ่งจากที่ปรากฏอยู่หลาย ๆ แห่ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More