การพิมพ์พระไตรปิฎกในประวัติศาสตร์ไทย  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2560 หน้า 38
หน้าที่ 38 / 100

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการพิมพ์พระไตรปิฎกซึ่งเริ่มต้นในรัชกาลที่ 5 ได้มีการพิมพ์พระไตรปิฎกเป็น ๑๙ เล่ม และในรัชกาลที่ 7 มีการพิมพ์เพิ่มเติมอีก ๖ เล่ม จนครบ ๕๔ เล่ม การสืบทอดคำสอนของพระพุทธศาสนามีหลากหลายรูปแบบตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ซึ่งมีความสำคัญในการดำรงและเชื่อมโยงคำสอนให้คงอยู่ในสังคมไทย.

หัวข้อประเด็น

-การพิมพ์พระไตรปิฎก
-ประวัติศาสตร์ไทย
-การสืบทอดพระพุทธศาสนา
-ความสำคัญของคำสอนในชีวิตประจำวัน
-การทำงานของรัชกาลที่ 5 และ 7

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อคราวสังฆายานครั้งที่ 10 มิถุนพระราชทานให้พิมพ์พระไตรปิฎกเป็นแผ่มแบบรวม ๑๙ เล่ม และตอบมามีการสำคัญคร้งที่ ๑๑ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พิมพ์พระไตรปิฎกเพิ่มเติมอีก ๖ เล่ม จนครบ ๕๔ เล่มในหนึ่งชุด นับแต่หลังพุทธปรินิพานเมื่อ ๒,๕๐๐ กวว่าปัจจุบันถึงปัจจุบัน การสังฆายานแต่ละยุคสมัยมีรูปแบบการสืบทอดแตกต่างกันไปทั้งแบบบุบผะ การจากจรึก และพิมพ์เป็นหนังสือ เพื่อสืบทอดดำรงและเชื่อมคำสอนครั้งพุทธกาลให้ส่งผ่านกาลเวลามาสู่เราขาวพุทธในปัจจุบัน ให้คำสอนนั้นเป็นแสงนำทางในการดำรงชีวิตของเราต่อไปตราบนานเท่านาน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More