ศีลธรรมและคำพูดของคนดี  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2560 หน้า 46
หน้าที่ 46 / 100

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงคำพูดของคนไม่ดี ที่มักพูดโกหกและทำลายความสัมพันธ์ พร้อมเสนอให้หยุดพูดแทนที่จะทำร้ายผู้อื่น และส่งเสริมการพูดดีและมีคุณภาพเพื่อความสงบสุขในชีวิต โดยคำแนะนำให้หลีกเลี่ยงการพูดที่ทำให้เกิดความแตกแยกหรือโทษภัยต่อตนเองและผู้อื่น

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการพูดดี
-ลักษณะคำพูดของคนดี
-ลักษณะคำพูดของคนไม่ดี
-วิธีการหลีกเลี่ยงคำพูดที่ทำร้าย
-การอดทนและไม่ตอบโต้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ศีลธรรม ลำสัตย์ เรื่อง พระครูสมพงษ์ ทนต์ติใจโฉ คำพูดของคนไม่ดี สนโต น เต ย น วนุติ ธม ม์ ผู้ใดไม่พูดเป็นธรรม ผู้นั้นไม่ใช่สัตบุรุษ (ส.ส. ๑๕/๒๗๐) ปกติของคนดี คือ คิดดี พูดดี ทำดี ปกติของคนไม่ดี คือ คิดไม่ดี พูดไม่ดี ทำไมดี ในที่นี้อ้างว่านี้คำพูดของคนไม่ดี คนไม่ดี มักพูดโกหก ปลิ้นปล้อน พูดอำภาย หลอกลวง ไม่รักคำพูด พูดจาไม่อยู่ร่องรอยกันร คนไม่ดีมักพูดหยาบคาย พุดด้า พูดไม่เข้า จุด พูดประชด พุดกระแทก พูดแดกดัน พูดอุอามา พุดให้จบใจ พูดเหมือนเอากันบ้างแยงู คนไม่มีมักพูดพ่อเจอ พูดไร้สาระ พุดเหลาไหล พูดพล่อ ๆ สักแต่ได้พูด คนไม่มีมักพูดส่อเสียด นำความข้างหนึ่งไปบอกอีกข้างหนึ่ง ด้วยเจตนาจะพูดแย่ให้แตกกัน ให้แตกแยกสามัคคี น คนไม่มีมักพูดด้วยจิตอดกล มักพูดโอ่วด พุดหวังอามสินจ้าง พูดให้ร้าย พุดด้วยจิตริซซา พูดแบบปากปร ชัยใจเชื่อ คอ คำพูดที่ย่อมังนี้ ใครพูดแล้วก็ทำลายสนุขพูด ทำลายมิตรภาพ พูดแล้วนำทุกข์-โทษ-ภัยมาสู่ตนเอง ถ้าจะพูดคำเหล่านี้ ให้ “หยุดพูด” จะดีกว่า ยอมไม่พูด ยอมอยู่นิ่ง แม้จะอึดอัดบ้างก็ตาม แต่เพื่อความปลอดภัยในวัยสงสาร เราต้องอดทนให้ได้ อดทน อย่าโกรธ ไม่พูด ไม่พูด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More