ข้อคิดรวบตัว: จับดีเขา จับผิดเรา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2560 หน้า 56
หน้าที่ 56 / 100

สรุปเนื้อหา

เนื้อหามุ่งเน้นถึงการจับผิดผู้อื่นซึ่งเกิดจากอารมณ์อิจฉา โดยยกตัวอย่างวิธีการพัฒนาตนเองที่สร้างสรรค์ผ่านการศึกษาและทำงานหนัก ที่สามารถทำให้สังคมเจริญก้าวหน้า หากแต่กลับมีผู้คนจำนวนไม่น้อยเลือกที่จะแทงกล้าและวิพากษ์วิจารณ์ผู้อื่นแทน ซึ่งจะนำไปสู่สังคมที่ไม่สงบสุข ต้องการให้ผู้คนพัฒนาตนเองแทนที่จะจับผิดคนอื่นเพื่อความเจริญของสังคม

หัวข้อประเด็น

-การจับผิดผู้อื่น
-การพัฒนาตนเอง
-จิตใจของคนที่ชอบจับผิด
-ผลกระทบต่อสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ข้อคิดรวบตัว เรื่อง : พระคุณลำสุขสมบูรณ์โพธิคุณ (สมชาย ฐานวุฒโต) จากรายการข้อคิดรวบตัว ออกอากาศทางช่อง DMC จับดีเขา จับผิดเรา การจับผิดผู้อื่นเกิดจากความรู้สึกอิจฉาไหวหรือไม่? คนเราทุกคนต้องการความภูมิใจในตัวเอง ถ้ารู้ว่าตัวเองมีความดีเด่นพิเศษกว่าคนอื่นก็จะรู้สึกพอใจ แต่จะดันได้มี 2 แบบ แบบแรกก็คือ ตั้งใจฝึกตนเอง ทำแต่ทำงาน จนกระทั้งมีความรู้ ความสามารถ มีผลงานที่โดดเด่นกว่าคนอื่น นี่คือวิธีที่สร้างสรรค์ อีกวิธีคือไม่ต้องทำอะไร คอยจับผิดคนอื่นแล้วเหยียบเขาลงไป สุดท้ายเหลือแต่ตัวเองเดิมกว่าขา นี่คือวิธีทาลายวิธีที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม คือ วิธีที่สร้างสรรค์ ถ้าทุกคนพยายามพัฒนาตนเองเหมือนแง่งกล้าความดี สังคมก็เจริญก้าวหน้ แต่ถ้าหากสังคมได้ผู้คนแทะแสนหวานความโดดเด่น ด้วยการเหยียบย่ำคนอื่นให้ต่ำลง นั่นคือสังคมที่จะไม่สงบ แต่คนไม่น้อยเลือกวิธีจับผิดคนอื่น ดิ้นนินทาวิพากษ์วิจารณ์คนอื่น ซึ่งก็จริงไม่ได้เกิดประโยชน์อะไรแก่ตัวเอง นั่งแต่เข็ดเสีย ของคนอื่น ตัวเราก็เหมือนกองขยะกองใหญ่ แต่คนที่ดูดีของคนอื่นแล้วงามมันจะพัฒนาเอง จะเหมือนทะเลซึ่งเป็นที่รวบของน้ำ คนที่ชอบจับผิดผู้อื่นมีสภาพจิตใจเป็นอย่างไร? สภาพจิตใจแย่เลย เหมือนที่จะรวมมะใครมะตรงไหนพยายามหาดูน แล้วเก็บเอามาไว้ที่ตัวเอง เอาตัวเองเป็นที่รวบของทั้งหมด เพราะฉะนั้นเราย่ายเป็นอย่างนั้น ให้ดูคำตัดนั้นเขามีอะไร ถ้าศึกษาเรียนรู้ เห็นข้อดีของเขาแล้ว จะได้แนวทางสำหรับพัฒนาตัวเอง อยู่ในบุญ กรกฎาคม 2560
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More