การเลือกมิตรและการรักษาความก้าวหน้า  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2560 หน้า 53
หน้าที่ 53 / 100

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการเจริญก้าวหน้าและการคบคนให้ดีตามแนวทางของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยเน้นถึงการรักษากรรมดีและหลีกเลี่ยงกรรมชั่ว สี่ประการที่ต้องละคือการไม่หลงผิดในกาม ไม่โกหก ไม่ทำบาปด้วยอคติ และไม่เสพอบายมุขที่ทำให้เสื่อมทรัพย์สมบัติ การเลือกเพื่อนที่ดีมีความสำคัญอย่างยิ่ง ต้องแยกแยะระหว่างมิตรแท้และมิตรเทียม รวมถึงการฝึกฝนตนเองให้เป็นมิตรแท้ในสังคม

หัวข้อประเด็น

-การเลือกคน
-การรักษาความก้าวหน้า
-มิตรแท้และมิตรเทียม
-ความสำคัญของกรรมดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เจริญก้าวหน้า ทรงฝีมือมีต้องรู้จักรักษาไม่ให้หมดไปโดยได้เหตุ ได้แก่ • ละกรรมกิเลส ๔ ประการ ได้แก่ ๑. ข้อแรก ไม่มัว ไม้กล ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่พูดเท็จ ๒. ไม่ทำบาปกรรมด้วยอคติ ๔ ประการ ได้แก่ ลำเอียงเพราะรัก โกรธ หลง หรือกลัวภัย ๓. ไม่เสพทางเสื่อมแห่งทรัพย์สมบัติ คือ อบายมุข ๖ ได้แก่ การดื่มสุราเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท การเทียวกลางคืน การเที่ยวดูมหรสพ การเล่นการพนัน การคบคนชั่วเป็นมิตร และความเกียจคร้าน สิ่งเหล่านี้แต่โทษ ไม่ก็ประโยชน์ สังคมที่รุ่งเรืองไม่ว่าจะเป็นระดับอำนาจ ตระกูล บริษัท หรืออื่นใดก็แล้วแต่ จะเสื่อมก็เพราะยึดเกี่ยวกับบายนุม ๆ เหล่านี้ หมวดที่ ๒ การเลือกคน เมื่อเกิดเป็นคนก็ต้องมีเพื่อน พระ- สัมมาสัมพุทธเจ้าทรงกำหนดมาตรฐานไว้ว่า เมื่อจะคบใครก็ต้องคบให้ดี เลือกคนดี โดยก่อนอื่นก็ต้องรู้จักแยกแยะระหว่างคนดี กับคนชั่ว ขณะเดียวกันก็ต้องฝึกตัวเองให้เป็น มิตรแท้ต่อคนอื่นด้วย เพราะถ้าตนเองยังฝึก ตนไม่ได้มาตรฐานของมิตรแท้ ก็ลงไม่มีคนดี คนไหนอยากจะคบหาเราเป็นเพื่อนด้วย มิตรเที่ยม คือ คนที่ไม่ควรคบ เพราะ มีพฤติกรรมที่ไม่บ่นว่าเป็นมิตร ใครคนทา สมา ด้วยก็แต่จะทำให้เสื่อมลงและนำภัย มาให้บ้จสิ้น มิตรเที่ยม จัดเป็น ๑ ในบางบุรุ ๖ แบ่งได้ ๔ ประเภท ได้แก่ ๑) คนปลอจก ๒) คนดีเท็จ ๓) คนหัวประจบ ๔) คนชักชวน ในทางจินหย ๙ มิตรแท้ คือ มิตรที่ควรคบ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแบ่งกลุ่มมิตรเท็จไว้ ๔ ประเภท ซึ่งมีลักษณะตรงข้ามกับมิตรเทียม ได้แก่ ๑) มิตรมีปกะ ๒) มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More