การศึกษาธรรมะและหลักในการดำเนินชีวิต  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2560 หน้า 59
หน้าที่ 59 / 100

สรุปเนื้อหา

การศึกษาธรรมะในพระศาสนาเป็นการวิเคราะห์และตรวจสอบสิ่งที่แนะนำว่ามีความถูกต้องหรือไม่ โดยใช้หลักธรรมเป็นมาตรฐาน เช่น ความสำคัญของการไม่ลุ่มหลงในสิ่งที่ผิด การใช้คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังมีการแนะนำให้หาผู้ที่มีความรู้เพื่อเป็นที่ปรึกษา การรับฟังคำแนะนำจากผู้อื่นโดยไม่มีการขัดแย้งก็จะช่วยให้เราเติบโตขึ้นได้ บริษัทอาจจะค้นหาแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้และนำเข้าสู่กระบวนการเรียนรู้และพัฒนา.

หัวข้อประเด็น

-มาตรฐานในการพิจารณา
-การศึกษาธรรมะ
-ความสัมพันธ์กับผู้หลักผู้ใหญ่
-คำแนะนำในการจับผิดผู้อื่น
-การปรึกษาผู้มีความรู้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

มาตรฐานเทียบเมื่อไรจึงจะมองเห็น จึงต้องเป็นผู้ไปเตือนเขา เราต้องเตือนด้วยความสุขุมมั่นคงบันเทิง และชำทนที่ควรชำ เพื่อให้ท่านเป็นมวลฐานใน การปฏิบัติพิสูจน์แท้ตัวเรา มีมาตรฐานในการพิจารณาอย่างไรว่า สิ่งที่เขาแนะนำมันถูกหรือผิด ? การศึกษาธรรมะในพระศาสนาให้ประโยชน์มาก เวลาใครแนะนำบ้างทิ้งเรายังมั่นใจว่า ถูกหรือผิด ก็ลงไปตรวจสอบกับหลักธรรมดูว่าถอดคล้องกันหรือเปล่า ถ้าถอดคล้องแสดงว่าใช่ แต่ถ้าขัดหลักธรรมก็ไม่ใช่แล้ว เช่น ต้องเอาเหล้าไปให้เขา เขาจะได้ชิมเรา ต้องไปเที่ยวกลางคืน จะได้สนิทกัน ถ้าคุณศึกษาธรรมะให้เข้าใจสมารถ นำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน คนอื่นเรียกว่าผู้หลักผู้ใหญ่ คือ เป็นผู้ใหญ่ที่มีหลักในการดำเนินชีวิต หลักนั้นได้มาจากคำสอนของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า บางเราศึกษาหลักธรรม แล้วตีความไม่แตก เราก็ไปหาดูอาจารย์ ไปหาผู้ ขอคำแนะนำ ประโยชน์ก็จะเกิดขึ้น ผู้ใหญ่ที่เราเคารพบั้นอือและครูบาอาจารย์ ของเราจะช่วยเป็นที่ปรึกษาให้เราได้ มีคำแนะนำในการจับผิดและจับผิดผู้อื่นอย่างไรบ้าง ? อยากให้มองทุกแห่ง ถ้าในแห่งเป็นผู้รับ คำแนะนำได้กล่าวไปแล้วว่า ให้อมคนนั้นเตือน เราว่าเป็นผู้ขุมทรัพย์ให้ น้อมรับเกิด แม้ว่าคำเตือนนั้นจะถูกบาง ก็ไม่เป็นไร รับฟังได้ก่อน อย่าเพิ่งส่วน แจ้ง หรือขัดคอ แต่ถ้าเรา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More