การสังคายนาพระไตรปิฎกในประเทศไทย  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กรกฎาคม พ.ศ.2560 หน้า 37
หน้าที่ 37 / 100

สรุปเนื้อหา

การสังคายนาครั้งที่ ๔ นับเป็นการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งแรกในประเทศไทยที่มีพระเจ้าติโลกราชเป็นผู้นำ กระบวนการนี้ทำให้พระไตรปิฎกได้รับการบันทึกลงบนแผ่นลานและมีอิทธิพลต่อภูมิภาคสุวรรณภูมิ หลังจากนั้นยังมีการพัฒนาวิธีการจารึกและการสืบทอดพุทธธรรมจากครั้งที่ ๕ ถึง ๙ จนถึงการเปลี่ยนแปลงไปสู่การพิมพ์ลงบนกระดาษ ปัจจุบันการรักษาพระไตรปิฎกและการเผยแพร่พุทธธรรมยังคงสำคัญในวงการศาสนาในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย

หัวข้อประเด็น

-ประวัติการสังคายนาพระไตรปิฎก
-การศึกษาและการเผยแพร่พุทธธรรม
-ความสำคัญของพระเจ้าติโลกราช
-การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในการจารึก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การสังคายนาครั้งดังกล่าว ณ ดินแดนเมียนมา และศรีลังกา แต้วิธีนบการสังคายนาครั้งที่ ๔ เป็นต้นไปของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกัน เนื่องจากภายหลังการสังคายนาครั้งที่ ๔ พระเจ้าโลกมหาราชได้ส่งสมบุตุ จำนวน ๙ สาย ออกเป็นลูกลักษณะอิทธิพลลงไปถึงดินแดนสุวรรณภูมิ ในภาคสังคายนาครั้งที่ ๔ ซึ่งนับเป็นการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งแรกในดินแดนไทย พระเจ้าติโลกราชปฐมลานนาทำลายกะไหล่ ให้พระไตรปิฎกมาลีด้วยอัตถธรรมด้านบนบรรจงแผ่นฯ พระเจ้าติโลกราชชัยเล่า ให้พระไตรปิฎกบามโลกล้วนและธรรมเนียมการสังคายนาพระพุทธธรรมนั้น แผ่นใบนั้นได้ขยายอิทธิพลมาถึงดินแดนสุวรรณภูมิ ในคราวสังคายนาครั้งที่ ๔ ซึ่งนับเป็นการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งแรกในดินแดนไทย พระเจ้าติโลกราชจึงนำเอาผู้กลาดแก้วเลียนแบบไปให้พระไตรปิฎกบีจูบาตด้วยอิทธิวาธรรมด้านบนแผ่นฯ เพื่อจะค้าตลอ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่กลาดเคลื่อนให้บริสุทธิ์บริสุทธิ์รุนรุดรัดกลั่นพระบรมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้จารึกพระไตรปิฎกลงบนแผ่นลานด้วยอักษรขอม เมื่อคราวกระทำสังคายนาครั้งที่ ๔ ณ กรุงเทพมหานคร วีธีสืบทอดพฤติกรรมตั้งแต่การสังคายนาครั้งที่ ๕ จนถึงครั้งที่ ๙ นี้ จึงเป็นแบบการจารึกลงบนแผ่นลานทั้งสิ้น พระไตรปิฎกฉบับทองใหญ่ จัดทำขึ้นใน พ.ศ. ๒๓๑๑ เมื่อคราวสังคายนาครั้งที่ ๙ ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีการพิมพ์เจริญก้าวหน้า วิธีสืบทอดพุทธธรรมจึงเปลี่ยนรูปแบบมาเป็นการพิมพ์ลงบนกระดาษ ในรัฐษีย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More