การวิเคราะห์องค์ประกอบของศาสนาในพระพุทธศาสนา คำว่า “ลทฺธิ” ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท หน้า 8
หน้าที่ 8 / 25

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาวิเคราะห์องค์ประกอบของศาสนาในพระพุทธศาสนา โดยนำเสนอ 5 ประการหลัก ได้แก่ ศาสดา ผู้ประกาศศาสนา หลักคำสอน ศีลธรรม พิธีกรรม และสถานทางศาสนา เป็นแนวทางในการพิจารณา ทั้งนี้ยังมีการพูดถึงความแตกต่างระหว่างการเรียกขาน 'พรหมณ-สินูด' และ 'งจือ' ว่ามีสถานะเป็นศาสนาหรือไม่ รวมถึงการใช้คำว่า 'ลักษิ' เพื่อเรียก 'เรวาท' และ 'มหายาน' ที่มีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา

หัวข้อประเด็น

-อองค์ประกอบศาสนา
-หลักคำสอน
-การศึกษาและการวิจัย
-ฤทธิ์ทางปรัชญา
-สถานะของศาสนาในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

濤ว่า“ฉธ”, ซึ่งนิในที่พระพุทธศาสนานอกจาก 43 The Term Laddhi in Theravāda Buddhist Scriptures ที่กระทำตามความเห็นหรือคำสั่งสอนในความเชื่อต่อเนื่องนั้น" และ "ลักษณะ" หมายถึง คิดความเชื่อถือ ความคิดเห็น และหลักการ ที่มีผุ้นิยมมันถือและ ปฏิบัติตามสินเนื่องกันมา เช่น ลักษณสงคณียม ลักษิษาดินียม3 นอกจากนั้น การให้ฌานะแนวเป็นรูปธรรมว่าอะไรเป็นศาสนาและอะไรเป็นลักษณะ ยังมีดีที่ไม่ลงกัน จนกระทั่งในการประชุมคณะกรรมการ ผูวิจัยศาสนาและความเชื่อตามโครงการวิจัยพื้นฐานจิตใจของประชาชน ชาวไทย สาขาวิชาปรัชญา สาขาวิชาแห่งชาติ พ.ศ. 2506 ได้มีการตกลง กำหนดโครงสร้างหรือองค์ประกอบของศาสนาไว้ 5 ประการ ซึ่งพอจะเป็น แนวทางในการพิจารณาได้ดังนี้ 1. มีศาสดา คือ ผุประกาศศาสนาซึ่งเป็นบุคคลในประวัติศาสตร์ 2. มีหลักคำสอน ที่มีการระชัดเจนเรื่องศีลธรรมวงจร และการปฏิบัติ 3. มีหลักความเชื่อเป็นปฏิภาค เช่น นิพพาน ปรมมณี พระเจ้า 4. มีพิธีกรรม คือ พิธีปฏิบัติ เพื่อให้เข้าสู่หลักการของศาสนา 5. มีสถานทางศาสนา หมายถึง ศาสนสถาน4 แม้กระนั้นในบางกรณี เช่น "พรหมณ-สินูด" และจะไม่ปรากฏตัว ของศาสดา หรือ "งจือ" แม้จะขาดความเชื่อเป็นปฏิภาค ซึ่งอาจจะ เป็นได้เพียง "ลักษิ" ตามแนวทางในการพิจารณาข้างต้น แต่เราจ พบเห็นการเรียกขาน "พรหมณ-สินูด" หรือ "งจือ" ว่าเป็น "ศาสนา" มากกว่า "ลักษิ" หรือครั้งหนึ่งในอดี ตคำว่า "ลักษิ" ยังคงใช้เรียก "เรวาท" และ "มหายาน" ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็นคำว่า "นิยาย" แทน ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะเป็นคำที่ให้เกียรติกับผู้ นับถือ รวมถึงคนคดีที่ค่อนข้าง 2 พระบัญญัติศาสนา (2556: 1142) 3 เรื่องเดียวกัน (2556: 1049) 4 ภัททพฺ บรรณฑิการ (2546: 4-5)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More