วิวัฒนาการของคำว่า 'ลุติ' ในพระพุทธศาสนา คำว่า “ลทฺธิ” ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท หน้า 16
หน้าที่ 16 / 25

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความหมายและวิวัฒนาการของคำว่า 'ลุติ' ที่ใช้ในพระพุทธศาสนา โดยเปรียบเทียบกับคำที่มีอายุกว่ามาก เช่น 'สานุ' และ 'ศาสนา' พบว่าคำว่า 'ลุติ' เริ่มปรากฏในคัมภีร์โดยมีความหมายเป็น 'ความเห็น' และเริ่มใช้ในช่วงระหว่างยุคต้นกับยุคอิทธิธรรม โดยเฉพาะการใช้ในการกล่าวถึงนักบวชนอกพระพุทธศาสนา เช่น ปริพาชก และ อเลคา รวมถึงการใช้เรียกพระพุทธศาสนาในเชิงปฏิปักษ์ โดยเฉพาะในคัมภีร์อรรถกถาของถาวัตถ

หัวข้อประเด็น

-วิวัฒนาการของคำว่า 'ลุติ'
-ความหมายในเชิงพระพุทธศาสนา
-การเปรียบเทียบกับคำอื่น
-นักบวชนอกพระพุทธศาสนา
-อิทธิพลในคัมภีร์ต่างๆ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คำว่า "ลุติ" ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเอง นักบวชนอกพระพุทธศาสนา เช่น ปริพาชก อเลคา พราหมณ์ กำเนิดและวิวัฒนาการของคำว่า "ลุติ" จากคำที่ปรากฏในคัมภีร์ก็แต่ละยุค พอจะอนุมานได้ว่า คำว่า "ลุติ" ที่ใช้ในความหมายว่า "ความเห็น" หรือ "คำสอน" ค่อนข้างจะใหม่เมื่อเทียบกับคำว่า "สานุ" (sāsana) ที่มีปรากฏตั้งแต่คัมภีร์พระพุทธศาสนายคัน13 หรือคำว่า "สานุ" (sāsana) ที่มีปรากฏตั้งแต่คัมภีร์รฤกษ์14 หรือคำว่า "ศาสนา" (saśsana) ที่มีปรากฏตั้งแต่คัมภีร์ราชยะ14 ในยุคพระเวท กล่าวคือ ไม่มีปรากฏในคัมภีร์สูตรต้น แต่เริ่มมาบรางๆ ในคัมภีร์ครอสต่อระหว่างยุคต้นกับยุคอิทธิธรรม คือ "นิตเทส" (กรณีที่ 1) โดยกล่าวถึง "นักบวชนอกพระพุทธศาสนา" อาทิ เช่น ปริพาชก อเลคา พราหมณ์ และต่อมามีการใช้เพิ่มขึ้นในคัมภีร์ "อธรกถา" (กรณีที่ 2-4) โดยยังคงมีการกล่าวถึง "นักบวชนอกพระพุทธศาสนา" อยู่เช่นเดียกันกับคัมภีร์ "นิตเทส" แต่เพิ่มเติมกว่านั้นใช้เรียกขานไปถึง "ผู้ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อพระพุทธเจ้าและพระสาวก" เช่น พระเทวต พระภิษุชาวเมืองโกศิลมิ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในคัมภีร์ "อรรถกถาของถาวัตถ" (กรณีที่ 5) ได้มีการใช้เรียกว่า "พระพุทธศาสนา 13 DN I: 11017; DN II: 20621; MN I: 12917; AN I: 29429; AN II: 26 14; Dhp 381: Sn 445, 482 เป็นต้น 14 RV I: 31.11c เป็นต้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More