ข้อความต้นฉบับในหน้า
ทธรรมาภา
วารสารวิวิธีกาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561
[กรณีพิเศษ]...ti yesam laddhi, seyathāphi [ชื่อของฝ่ายปรวาที], te sandhāya [กรณีพิเศษ]...ti pucchā sakavādisā, pattiñña itarassa. (Kva: 58^1-3, 66^5-6, 81^1-3, 93^1-2, 114^7-8, 137^3-5, 164^5-7, 170^1-2, 199^7-9 เป็นต้น)
ลัทธิของชนเหล่าใด ที่ว่า [กรณีพิเศษ] ดังคือ [ลัทธิ] ของ [ชื่อของฝ่ายปรวาที] เหล่านั้น คำถามเป็นของฝ่ายสกาวาที คำตอบเป็นของฝ่ายปรวาที ในเรื่องเกี่ยวกับ [กรณีพิเศษ] ดังนี้
ลากตัวอย่างบริบทการใช้คำว่า “ลัทธิ” ที่ปรากฏในคัมภีร์ข้างต้น จะเห็นได้ว่า การใช้คำว่า “ลัทธิ” ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเทววาท มัทนะคติค่อนข้างไปทางลบ แต่ความหมายโดยรูปศัพท์จะไม่บ่งบอกว่าเป็นบวกหรือลบก็ ตาม โดย “กลุ่มเป้าหมาย” จะแบ่งออกเป็น (1) กรณีที่ 1-2 เกี่ยวกับนักบวชนอกพระพุทธศาสนาเช่น ปริชาถ อลกฺฯ (2) กรณีที่ 3-4 เกี่ยวกับพระภิกษุในพระพุทธศาสนาเอง แต่มีความเห็นที่เป็นปฏิปักษ์กับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่น พระเทวทัต พระภิกษุชาวเมืองโกสัมพี11 และ (3) กรณีที่ 5 เกี่ยวกับพระภิกษุในพระพุทธศาสนาต่างนิกายที่ไม่ใช่เถรวาท เช่น มหาสงฆิกะ (Mahāsānghika 大衆部) สวดติวา (Sarvāsṭivāda 說一切部) เป็นต้น12
10 คำว่า “ลัทธิ” ที่ถูกใช้กันนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ยังพบใน VA V: 1034^23-24, DA I: 143^7-8, 168^9-10, MA II: 233^1, MA III: 236^14, SA I: 130^12-13 เป็นต้น
11 คำว่า “ลัทธิ” ที่ถูกใช้กับพระภิกษุในพระพุทธศาสนาผูมีความคิดเห็นเป็นปฏิปักษ์ ยังพบใน VA III: 607^28, VA V: 1146^33, VA VII: 1375^5-6 เป็นต้น
12 คำว่า “ลัทธิ” ที่ถูกใช้กับพระภิกษุในพระพุทธศาสนาดังนิงาย ยังพบใน VA I: 601^5-16 เป็นต้น