การศึกษาความหมายของคำว่าลัทธิในพระพุทธศาสนา คำว่า “ลทฺธิ” ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท หน้า 9
หน้าที่ 9 / 25

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอการศึกษาความหมายของคำว่า 'ลัทธิ' จากภาษาบาลีและสังคมไทย โดยวิเคราะห์จากพระไตรปิฎกและงานวิจัยเชิงสัมมภิฏฐิ การใช้คำนี้ในบริบทที่มีทัศนคติด้านลบต้องการการศึกษาเชิงลึกผ่านวิจัยทั้งในเอกสารและภาคสนาม เพื่อเข้าใจถึงความหมายและการตีความในสังคมว่าว่ามีความสอดคล้องหรือขัดแย้งกับความหมายเดิมในเชิงบวกหรือลบอย่างไร

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของคำว่าลัทธิ
-ทัศนคติด้านลบในภาษาไทย
-การศึกษาวิจัยเชิงสัมมภิฏฐิ
-ความเชื่อเกี่ยวกับลัทธิในสังคม
-การวิเคราะห์จากพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมธารา วรรณวิภาวิจารณาพระพุทธศาสนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 7) พ.ศ. 2561 จะออกไปในด้านลบของคำว่า “ลัทธิ” จากตัวอย่างที่ได้กล่าวมานี้ คำว่า “ลัทธิ” มีความหมายในลักษณะ เป็นกลางๆ ไม่บ่งบอกว่ากกหรือจงดั่งที่กล่าวไปแล้วตาม แต่อาจ เห็นได้ว่าทัศนะคติของการใช้ความว่า “ลัทธิ” ในภาษไทยค่อนข้างจะ เป็นไปในทางลบ ซึ่งการศึกษาถึงที่มาของทัศนะคติด้านลบนี้ มีความจำเป็นต้องอาศัยการศึกษาวิจัยเชิงสัมมภิئ (Document Research) ควบคู่กับการศึกษาวิจัยภาคสนาม (Field Research)5 ซึ่งนี้เพื่อให้เห็นถึง บริบทการใช้งานจากศัพท์เดิมในภาษาบาลี คือคำว่า “ลุทิ” โดย เปรียบเทียบกับทัศนะของคนในสังคมต่อคำว่า “ลัทธิ” ว่ามีความ สอดคล้องหรือขัดแย้งกันหรือไม่ อย่างไร สำหรับในบทความนี้ผู้เขียนขอเริ่มต้นจากการศึกษาวิจัยเชิงสัมมาภิฎิ โดยการศึกษาถึงตัวอย่างและบริบทการใช้คำว่า “ลัทธิ” ที่ปรากฏใน พระไตรปิฎกและอรรถกถาเดจาก่อน จากนั้นจึงขยายผลไปสู่ภาวิจัย ภาคสนามในโอกาสต่อไป รูปศัพท์และบริบทการใช้คำว่า “ลัทธิ” คำว่า “ลัทธิ” ที่มาจากคำว่า “ลุทิ” ในภาษาบาลี มีความหมายตามปริวรรตวิเคราะห์ว่า “การได้รับความรู้” (สนิท ชานัน ลุทิ) หรือ “สิ่งอันควรรับไว้ สิ่งอันควรยึดถือ” (ลิตพุพา คทฺเทพพา ลุทิ) และได้ให้ความหมายในลักษณะขยายความว่า คือ “ความเห็นแบบแผน คำสอนที่สืบๆ กันมา ซึ่งไม่ปรากฏผู้ตั้งข้อความเริ่มแรก” ทั้งนี้ไม่ปรากฏว่า สื่อความหมายไปในทางบวกหรือทางลบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More