การเข้าถึงบุณยาธัญญะและการบูชาพระพุทธเจ้า วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549 หน้า 28
หน้าที่ 28 / 84

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของการเข้าใจพุทธญาณซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรู้ความจริงเกี่ยวกับสัตว์ทั้งปวงและคุณสมบัติของพระบรมศาสดาที่มีจักษุทั้ง ๕ รวมถึงอานิสงส์ในการบูชาในวันมาฆบูชาต่อการพัฒนาจักษุภายในและการดำเนินชีวิตในทางที่ถูกต้อง โดยผู้ที่มีความเชื่อมั่นและตั้งใจในการบูชาจะได้รับผลบุญไปทุกชาติทุกภพ

หัวข้อประเด็น

-พุทธญาณ
-การบูชาพระพุทธเจ้า
-วันมาฆบูชา
-จักษุทั้ง ๕
-อานิสงส์ของการบูชา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เวลาเดียวกัน ซึ่งเห็นได้วิเศษกว่าทิพยจักษุ ทรงรู้ ธรรมที่ควรรู้ ทรงเห็นธรรมที่ควรเห็น เห็นทั้งอดีต อนาคต และปัจจุบัน ทรงรู้อัธยาศัย อนุสัย จริต อธิมุตติของสัตว์ทั้งปวง ย่อมทรงรู้จักหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดา และมนุษย์ ทุก อย่างอยู่ในข่ายพระพุทธญาณ เหมือนปลาและเต่า ทุกชนิดที่เป็นไปภายในมหาสมุทร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมี ปัญญาจักษุ คือ ทรง ที่ได้พรรณนามาโดยย่อนี้ เราทั้งหลายจะได้รู้ ว่าพระบรมศาสดาของเรานั้นทรงถึงพร้อมด้วย จักษุทั้ง ๕ มีอานุภาพยิ่งใหญ่เหนือสรรพสัตว์ทั้งปวง ทรงมีอานุภาพเป็นอจินไตย อยู่เหนือวิสัยที่เราจะ นึกคิดค้นเดาได้ เมื่อรู้ดังนี้แล้ว ในวันมาฆบูชาที่ จะถึงนี้ เราควรมาพร้อมใจกันจุดโคมประทีปที่ ลานมหาธรรมกายเจดีย์ เพื่อน้อมถวายเป็นพุทธ บูชาด้วย มีพระปัญญามาก ทรงบรรลุปฏิสัมภิทา ทรงบรรลุ กันเพื่อให้ เวสารัชญาณ ๔ ทรงทศพลญาณ ทรงรู้ว่าบุคคล เกิดพลังหมู่ เหล่านี้เป็นราคจริต จะตรัสบอกอสุภกัมมัฏฐาน พลังแห่ง และจะตรัสบอกเมตตาภาวนาแก่ผู้มีโทสจริต อีก สันติภาย ทั้งทรงแนะนำผู้มีโมหจริตให้ดำรงอยู่ในการเรียน ในขยายไป.. การไต่ถาม ทำให้สาวก ของพระองค์ตรัสรู้ธรรม ตามนับไม่ถ้วน การรู้ของ พระองค์นั้นก็รู้ได้ด้วยธรรม จักษุ เห็นด้วยตาของธรรม กายพระอรหัต รู้ด้วยญาณทัสสนะของพระธรรม กายอรหัตที่รู้ได้ตลอดหมด คือ ทั้งรู้ลึก รู้รอบ รู้กว้าง รู้ไกล รู้ยิ่ง รู้พร้อม ซึ่งโดยรวมก็คือพระสัพพัญญุต ญาณนั่นเอง สู่ชาวโลก อานิสงส์ใน การจุดโคมประทีป เพื่อถวายเป็นพุทธ บูชาครั้งนี้ จะทำให้ เราได้เป็นผู้ถึงพร้อม ด้วยเบญจพิธจักษุ คือ ได้จักษุทั้ง ๕ ประการ คือมังสจักษุ ทิพยจักษุ สมันตจักษุ ปัญญาจักษุ และธรรมจักษุ ตาม พระองค์ไปด้วย เราจะได้ถึงพร้อมด้วยดวงตา ภายนอกและภายในไปทุกภพทุกชาติตราบวันถึงที่ สุดแห่งธรรม “เมื่อพระสัมพุทธเจ้าเป็นต้น ยังทรง พระชนม์อยู่ก็ดี นิพพานแล้วก็ดี เมื่อจิตเสมอกัน ผลก็ย่อมเท่ากันในเพราะเหตุคือความเลื่อมใสแห่งใจ สัตว์ทั้งหลาย ย่อมไปสู่สุคติ” (พุทธพจน์) ๒๖
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More