การสวดมนต์และการปฏิบัติตนในวัดพระธรรมกาย สวดมนต์ ฉบับธรรมทายาท หน้า 2
หน้าที่ 2 / 41

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความสำคัญของการสวดมนต์ในชีวิตประจำวันและประเพณีที่เกี่ยวข้องกับการเข้าไปวัดพระธรรมกาย โดยอธิบายถึงจุดมุ่งหมายในการสวดมนต์ และความจำเป็นในการทำความสะอาดใจ เช่นเดียวกับการทำสะอาดร่างกาย การสวดมนต์ช่วยสร้างด้านดีในใจ บทบาทของการปฏิบัติตนในวัดและวิธีการฝึกสมาธิเบื้องต้น รวมถึงความสำคัญของระเบียบการไปวัดและการอาบน้ำก่อนเข้าวัดเพื่อความสะอาดทั้งร่างกายและจิตใจ.

หัวข้อประเด็น

-จุดมุ่งหมายของการสวดมนต์
-ระเบียบการกราบพระรัตนตรัย
-วิธีการทำวัตรเช้า-เย็น
-การปฏิบัติตนที่วัด
-การฝึกสมาธิ
-ผลดีของการสวดมนต์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

สารบัญ จุดมุ่งหมายของการสวดมนต์ ระเบียบการกราบพระรัตนตรัย สวดมนต์จนเห็นธรรม ท่าวัตรเช้า สวดมนต์ฉบับธรรมทายาท จุดมุ่งหมายของการสวดมนต์ m 60 ทําวัตรเย็น ๑๗ บทสวดสรรเสริญพระมหาสิริราชธาตุ ๒๖ บทสวดสรรเสริญพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ๒๗ คําแปล - ท่าวัตรเช้า ๒๘ คําแปล - ท่าวัตรเย็น ๓๕ วิธีบูชาพระรัตนตรัย สต คําอาราธนา และค่าถวายต่างๆ สว ก่อนไปวัด ๕๕ บุญกิริยาวัตถุ ๓ (ทาน, ศีล, ภาวนา) สมาธิ - ประโยชน์ของการฝึกสมาธิ ๖๐ วิธีฝึกสมาธิเบื้องต้น ๖๔ การปฏิบัติตนของคนไปวัด mo กฎระเบียบของวัดพระธรรมกาย ๖ แผนที่เส้นทางไปวัดพระธรรมกาย ala คําอธิษฐานประจําวัน ๗๘ จุดมุ่งหมายของการสวดมนต์ ร่างกายมีความจําเป็นต้องได้รับการอาบน้ำชำระล้างเหงื่อไคลออก เป็นประจําฉันใด แม้จิตใจก็มีความจําเป็นต้องชาระให้ผ่องแผ้วอย่างน้อย วันละครั้งฉันนั้น แต่ความยุ่งยากอย่างยิ่งในการทำความสะอาดใจ คือ เราไม่สามารถจะใช้น้ำหรือสิ่งใดๆ ในโลกมาล้างใจให้สะอาดได้ ยกเว้น พุทธธรรม ที่เกิดขึ้นในใจของผู้นั้นเอง ทั้งนี้เพราะใจเป็นสิ่งที่เห็นได้โดย ยากประการหนึ่ง เวลา ประการที่สอง ใจไม่ค่อยยอมอยู่นิ่งๆ ชอบเที่ยว ชอบคิดตลอด ประการที่สาม ใจมักจะหลงพอใจในอารมณ์ที่น่าใคร่ จึงนําความ เดือดเนื้อร้อนใจมาสู่ตัวเองเสมอมา วิธีสร้างพุทธธรรมให้เกิดขึ้นในดวงใจ มีวิธีง่ายๆ และนิยมกันมาก ตั้งแต่สมัยพุทธกาลเป็นต้นมา คือการท่อง หรือสวดหัวข้อธรรมที่พระ พุทธเจ้าตรัสไว้ ซึ่งเราเรียกว่า สวดพุทธมนต์ หรือเรียกสั้นๆ ว่า สวดมนต์ ดังนั้น นับตั้งแต่โบราณกาลชาวไทยจึงนิยมสวดมนต์ มีการทำวัตรเช้า- เย็นตลอดมา ผลของการสวดมนต์เป็นประจำทุกเช้า-เย็น ทำให้บรรพบุรุษของ ชาวไทยเป็นผู้มีใจสูง รักใคร่ปรองดองกัน มีเมตตาอารีต่อเพื่อนบ้าน และรังเกียจการรุกรานหรือความรุนแรงใดๆ อาจมีบ้างบางครั้งที่พลั้ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More