รำพึงถึงการขอบุตรแห่งช้างเผือก ศีล คุณค่าของความเป็นมนุษย์ หน้า 21
หน้าที่ 21 / 27

สรุปเนื้อหา

พราหมณ์ทั้ง ๙ คน เดินทางไปขอช้างเผือกจากพระเจ้านัญช์โภคะ ซึ่งพระองค์ก็ทรงพระราชทานให้ แต่เมื่อไปถวายพระเจ้ากัลคราช ผลไมยังไม่เป็นไปตามความปรารถนา หลังจากนั้นมีการปรึกษาหารือและพระเจ้ากัลคราชได้ให้พราหมณ์นำช้างเผือกไปคืนให้พระเจ้าบัญชัชโงก จนส่งผลให้ฝนตกตามที่ต้องการ ในที่สุดได้ทรงพระราชทานหลักธรรมเพื่อความเจริญรุ่งเรืองของประเทศและมีการกำหนดกฎข้อห้ามในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-การขอช้างเผือก
-การปรึกษาหารือของพระเจ้า
-การคืนช้างและพระราชบัญญัติ
-แนวทางการดำรงชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พราหมณ์ทั้ง ๙ คน จึงได้เดินทางไปขอช้างเผือกจากพระเจ้านัญช์โภคะ พระองค์ก็ทรงพระราชทานพญาช้างเผือกให้ด้วยความยินดี พราหมณ์จึงนำไปถวายพระเจ้ากัลคราช แต่ผลไมยังไม่ตกตามความปรารถนา พระเจ้ากัลคราชจึงทรงปรึกษาหารือกับบรรดาอำมาตย์ เพื่อหวังให้ผลลงมาอีก หมู่เข้ามาตึงกราบทูลว่า พระเจ้าบัญชัชโงกนะทรงรำพากษ์ในธรรม คือ คีรี ๔ อยู่เป็นอันดี ฝนจึงตกลงมาในประเทศของพระองค์ทุกๆ ๑๔ วัน คงจะโปรดให้บัญชาเผือกไปถวายคืน แล้วลูกของรากิกรุธธรรมในแผ่นทองมาวายให้พระองค์คุ้มคุม ถ้าทำเช่นนี้แล้ว ฝนจึงจะตกในอาณาจักรของพระองค์ พระเจ้ากัลคราชทรงสดับเช่นนั้นแล้วก็ทรงเห็นชอบ จึงโปรดให้พราหมณ์ตั้นทั้ง ๙ คน กับอำมาตย์ เป็นราชฤาษูนำพาเผือกไปถวายคืนแก่พระเจ้าบัญชัชโงก ณ กรุงอินทปัตย์ และถวายเครื่องบรรทกการ พร้อมทั้งให้ลูกของรากิกรุธธรรมด้วย พระมหณ และอำมาตย์ ทั้งหลายรับพระราชโองการแล้ว ก็ทรงถวายบังคมลาไปปฏิบัติตามรับสั่ง เมื่อพราหมณ์และอำมาตย์แห่งกรุงกัลคราชถวายเผือกคืน และถวายเครื่องราชบรรณาการแล้ว จึงกราบทูลถวายการจากพระเจ้าบัญชัชโงก แด่พระองค์ในทรง พระราชทานให้ด้วยพระเนญญ์โสฬส จึงทรงอนุญาตให้ชูฎ จริกฤษฐธรรมลงในแผ่นทองดังนี้ ๑. อย่ามาสัตว์ ๒. อย่าลักทรัพย์ ๓. อย่าประพฤติผิดประเวณี ๔. อย่าทำเท็จ ๕. อย่าดื่มน้ำเมา เมื่อราชฑูตจากกรุงกัลคราชทั้ง ๕ ข้อ แล้ว ก็ถวายบังคมลาไปเฝ้าพระราชมรรคาของพระเจ้ากัลครูอินทปัตถ์อีก พระนางก็ทรงสงสัยว่า กุรุธรรมของพระนางจะไม่มีสิทธิ becauseได้เคยให้อดีตของเกล้าของทั้งสองคนแต่ของมีมูลค่าไม่เท่ากัน จึงไม่อยากให้กุรุธรรมแก่ราชฑูต
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More