การรักษาศีล ๕ ในพระพุทธศาสนา ศีล คุณค่าของความเป็นมนุษย์ หน้า 26
หน้าที่ 26 / 27

สรุปเนื้อหา

การรักษาศีล ๕ เป็นการเลือกบริบทที่แสดงถึงความปรารถนาและสะดวกของแต่ละคน หากไม่ปฏิบัติตาม ก็จะต้องเผชิญกับผลกรรม ไม่ว่าจะเป็นโลกนี้หรือโลกหน้า อุดมการณ์สูงสุดคือการพ้นจากความทุกข์ มุ่งสู่นิพพาน โดยที่ผู้รักษาศีลจะเห็นคุณค่าและโชคดีที่เกิดในแดนแห่งพระพุทธศาสนา การอธิบายศีล ๕ และศีล ๔ เป็นการเสนอแนวทางในการปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อให้เกิดสมาธิและปัญญาในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของศีล ๕
-วิธีการรักษาศีล ๕
-อุดมการณ์ในพระพุทธศาสนา
-ศีล สมาธิ ปัญญา
-ผลกรรมจากการไม่รักษาศีล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ท่านพอใจจะรักษาศีล ๕ หรือศีล ๕ ก็ขอเชิญพิจารณาเลือกบริบทตามความปรารถนาและความสะดวก ตามสถานภาพของท่าน แต่ถ้าท่านจะไม่เลือกทั้งสองอย่าง จะถือว่าอะไรได้ตามใจ คือไทยแท้ อยากจะขอใครก็มา อยากขอของใครก็ให้มา อยากจะดื่มสุราหรือเสพยาเสพติดก็ทำ ท่านก็จะไม่พ้นการไปรับเอาปกติสัตว์มา ประพฤติปฏิบัติเข้าใจดี ถ้าเป็นเช่นนั้น นอกจากผลกรรมจะลงเอาในโลกนี้แล้ว ท่านก็จะหนีไม่พ้นวัฏฏะกรรมในโลกหน้ากันอีกด้วย อุดมการณ์หรือจุดมุ่งหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา คือ นิพพาน ตลอดเวลาแห่งการประกาศพระศาสนา พระสัมมาสัมพุทธเจ MASTER THUNG N MON ซึ่งให้สัตว์โลกทั้งหลาย พ้นจากความทุกข์ในห้วงสงสารธวัช มุ่งสู่นิพพานทั้งสิ้น วิปฏิวัติวิธีปฏิสนธิเพื่อจุดหมายปลายทางคือ ศีล สมาธิ ปัญญา คือเป็นเบื้องต้นของสมาธิและปัญญา ผู้ที่รักษาศีลไม่บริสุทธิ์ ยอมหมดโอกาสปฏิบัติสมาธิลาเพื่อให้เกิดปัญญาอันเป็นประป่านทางไปสู่ความหลุดพ้นได้ เมื่อได้ทราบถึงคุณค่าของศีลเช่นนี้แล้ว ยังจะลังเลอีกอย่างใย ลงมือรักษาศีลของท่านให้บริสุทธิ์บริบูรณ์เสียแต่วันนี้เกิด แล้วท่านจะพบว่า ท่านเป็นผู้โชคดีมหาศาล ที่ได้เกิดในแดนดินแห่งพระพุทธศาสนานิ่งรุ่งเรืองอยู่ คำอธิบายศีล ๕ มะยัง กันตด วิสุง วิสุง รักษ์ตนตะเฆะ ฎิสระเนสสะนะ ปัญจะ สติลา ยาคมยะ ทุกยังมี มะยัง กันตด วิสุง วิสุง รักษ์ตนตะเฆะ ฎิสระเนสสะนะ ปัญจะ สติลา ยาคมยะ ตะยัมมิ มะยัง กันตด วิสุง วิสุง รักษ์ตนตะเฆะ ฎิสระเนสสะนะ ปัญจะ สติลา ยาคมยะ (ถ้าอาราธนาศีลเพื่อคนตามลำพังให้เปลี่ยน มะยัง เป็น อะหัง และ ยามะ เป็น ยาจามี) คำอธิบายศีล ๔ มะยัง กันตด ติสะระเนนะ สะจะ อัญญูจะสำนะนาคตัง อุโปสถัง ยามะ (วา ๓ ครั้ง) ถ้าจะอาราธนาเพื่อคนเดียว ให้เปลี่ยน มะยัง เป็น อะหัง และ ยามะ เป็น ยาจามี
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More