ความหมายของชีวิตและการสร้างบุญ วารสารอยู่ในบุญ ประจำเดือน กันยายน พ.ศ.2553 หน้า 82
หน้าที่ 82 / 99

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เน้นถึงความสำคัญของการใช้ลมหายใจให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการนึกถึงบุญและการสร้างบารมี ในขณะที่เน้นถึงคุณค่าของชีวิต ความตายเป็นสิ่งที่ไม่มีนิมิตหมาย ทำให้เราต้องมีสติในการใช้ชีวิตและสร้างบุญเพื่อเตรียมตัวสำหรับการเดินทางครั้งสุดท้าย เขียนถึงการเดินทางกลับของคุณครูไม่ใหญ่และความสำคัญในการนั่งสมาธิเพื่อพิจารณาบุญของตนเอง ข้อคิดสำคัญคือการไม่เสียดายสิ่งที่พลาดไปแต่ควรรีบเร่งสร้างบุญกุศลให้มากที่สุดในทุกช่วงเวลาของชีวิต เพื่อจะได้จากไปในสภาพที่สติดีไม่มีความกลัว

หัวข้อประเด็น

-ความตาย
-การสร้างบุญ
-ชีวิตและการใช้ชีวิตอย่างมีค่า
-ความเชื่อมโยงกับครอบครัว
-บทบาทของสติในชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

D M C ช่องนี้มีค่าตอบ ๙๑ ๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๒.๕ ๒.๖ สุด ๆ - จากนั้นเธอก็ตั้งใจนั่งฟังธรรมไปพร้อมกับ : เดินทางกลับดุสิตบุรี ภายหลังจากที่งานชำระร่าง เพื่อนนักเรียนอนุบาลฯ จนกระทั่งคุณครูไม่ใหญ่ เดินทางกลับ เมื่อคุณครูไม่ใหญ่เดินทางกลับ ท่านเทพธิดา ของเธอเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว บทส่งท้ายตอนที่ ๑ เห็นไหมว่า ความตายเป็นสิ่งที่ไม่มีนิมิตหมาย ใหม่ก็กลับขึ้นไปนั่งอยู่บนเทวรถ แล้วก็เคลื่อนไป : เห็นหน้ากันอยู่วันนี้ วันพรุ่งนี้เราอาจจะเป็น “อดีต จอดที่บริเวณด้านหน้ามหาธรรมกายเจดีย์เช่นเดิม : มนุษย์” หรือพูดภาษาบ้าน ๆ ว่า “ตาย” ก็ได้ ๑.๑๒ หลังจากนั้นเธอก็นั่งสมาธิเพื่อนึกทบทวน เพราะฉะนั้น ตราบใดที่เรายังมีลมหายใจ เรา บุญของเธอต่อ ยิ่งเธอนึกทบทวนบุญของตัวเอง : ก็ควรใช้ทุกลมหายใจของเราให้มีค่ามากที่สุด คือ มากเท่าไร ความปลื้มปีติใจก็ยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น ให้เป็นลมหายใจที่เป็นไปเพื่อการสร้างบุญ สร้าง แม้ในช่วงแรก ๆ ความรู้สึกผูกพันในครอบครัว บารมี ถ้าเมื่อไรที่ลมหายใจสุดท้ายของเราหมดไป จะมารบกวนจิตใจของเธออยู่บ้าง แต่เมื่อเธอได้ เหมือนอย่าง "ลูกนักรบหญิงพันธุ์ตะวันนามว่า นึกถึงบุญมากเข้า ๆ จนกระแสบุญควบแน่นอยู่ : สุพัตรา ภูริปัญโญ” วันนั้นเราจะรู้ซึ้งถึงคุณค่าของ ภายในใจ ความรู้สึกผูกพันในครอบครัว หรือใน : ชีวิตที่เหลืออยู่ คน สัตว์ และสิ่งของ ก็ได้เจือจางเบาบางลงไป เรือย ๆ ดังนั้นใครที่ยังมีลมหายใจอยู่ก็ให้รีบขวนขวาย สั่งสมบุญกุศลให้มาก ๆ เมื่อไรที่ลมหายใจสุดท้าย แม้ในขณะนี้ ความปลื้มปีติใจของเธอจะเพิ่ม ของเรามาถึง เราจะได้ไปแบบผู้มี “สติดี” ที่ไม่ มากขึ้นเพียงใดก็ตาม แต่ภายในใจลึก ๆ เธอก็: สติแตกและครั่นคร้ามในมรณภัยอย่างลูกสุพัตรา ยังรู้สึกเสียดายที่ตัวเธอต้องจากโลกนี้ไปเร็วกว่า : ภูริปัญโญ ที่คิด เพราะในความเป็นจริงแล้ว เธอยังอยากอยู่ ๒.๑ บุพกรรมที่ทำให้ลูกสุพัตราต้องมาป่วย สร้างบารมีกับคุณครูไม่ใหญ่และหมู่คณะต่อไป ด้วยโรคมะเร็งปอดและเสียชีวิตด้วยอาการน้ำท่วม อีกนาน และในตอนนี้ เธอมีความตั้งใจที่จะ ปอด เพราะเศษกรรมจากกรรมปาณาติบาตที่เธอ ๆ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More