การนึกถึงองค์พระหยาดและการภาวนา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2557 หน้า 75
หน้าที่ 75 / 136

สรุปเนื้อหา

การเดินดูองค์พระหยาดเป็นการสร้างสมาธิ โดยอย่างไรก็ตามเมื่อเผชิญกับปัญหา การใช้คำว่า 'สัมมา อะระหัง' สามารถทำให้ใจสงบและมีสมาธิมากขึ้น ในบทเรียนนี้จะสอนวิธีการติดตามองค์พระหยาดกลับคืนมาและการทำให้ใจนิ่ง เป็นการย้ำเตือนให้เราตระหนักถึงความสำคัญของการรู้สึกตัวในทุกจังหวะและคืนสู่ความสงบภายใน.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายขององค์พระหยาด
-วิธีการนึกถึงและภาวนา
-บทบาทของคำว่า 'สัมมา อะระหัง'
-การจัดการกับอุปสรรคภายใน
-การสร้างสมาธิและความสงบในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

องค์พระหยาด ดวงแก้วหยาด ให้กวานา "สัมมา อะระหัง" พระอุภาส ปัญโญ พระธรรมทยาทโครงการณ์อุปสมบทหมู่ ๑๐๐,๐๐๐ รูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย วัดพระธรรมกาย ก่อนที่จะเดินดูดดง อาตมาอยู่ในกลุ่มที่เห็นองค์พระต่อเนื่อง มีความมั่นใจในตัวเองอย่างเต็มที่ว่า ระหว่างเดินดูดงค์องค์พระเราต้องสว่างไสวตลอดเส้นทาง แต่ว่าพอมาถึงสถานการณ์จริง ขณะเดินดูดงค์เมื่อของเจอทดสอบมากมาย ปรากฏว่าองค์พระก็ไม่เห็น แสงสว่างก็หาย ไม่มีเลย สาเหตุก็มา จากทุกเหตุการณ์ที่เกิดจากการเผาไฟ ที่เขาเรียกว่า ยางระเบิดใจจากแวกไปกับ ๒ ข้างทาง รถวิ่งผ่านไปผ่านมา จากที่เราเคยนิ่ง เคยสงบ กลายเป็นศูนย์ไปหมดเลย ควรจะทำตามมาตามหาองค์พระ ตามหาดวงแก้ว ซึ่งยิ่งตามหา ยิ่งค้น ยิ่งค้น ยิ่งเน้น ยิ่งนึม ยิ่งไม่เห็น ยิ่งอยากให้ดิ่งหาย พยายามทุกวิถีทางผลการปฏิธรรมก็ไม่ดีขึ้น จนกระทั่งถึงคำของพระอาจารย์ ซึ่งท่านเมตตาสอนไว้ว่าให้กวานา "สัมมา อะระหัง ๑, สัมมา อะระหัง ๒, สัมมา อะระหัง ๓..." นับไปเรื่อยๆ พอเรานับไปเรื่อยๆ ใจก็เลยนิ่งลง ไม่สนใจสิ่งรอบข้าง เท้าก็ยังเจ็บอยู่ แต่ใครก็ไม่ไปบังกองอยู่กับฝ่าเท้า แต่มายืนที่ศูนย์กลางกายแทน ทำให้ความเจ็บลดน้อยลงจนไม่รู้สึก และที่สำคัญเดินได้นิ่ง ไม่ออกแกว ไม่มองชายไม่มองขวา ความสงบเสงี่ยม ส่งงามก็เกิดขึ้น จากเคยเดินออกแวกข้างขวา เพราะใจไม่จดจ่อก็กันได้ เพราะฉะนั้น อยากจะฝากให้เพื่อนสาธุภิกษาท่านใดที่ใจไม่มิ่งองค์พระหยาด ดวงแก้วหยาด ให้ลองกลับมาวนา "สัมมา อะระหัง ๑, สัมมา อะระหัง ๒, สัมมา อะระหัง ๓..." ภาวนาไปเรื่อยๆ แล้วทุกอย่างจะกลับมาเหมือนเดิม นิ่งนาว่าเดิม ท่านใดที่ใจไม่มิ่ง องค์พระหยาด คงแก้วหยาย ให้ลองกลับมาวนา "สัมมา อะระหัง"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More