ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และพญานาค วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2557 หน้า 110
หน้าที่ 110 / 136

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความเชื่อในพญานาคและความหมายของการสร้างบุญในวัฒนธรรมไทยและลาว โดยเล่าเรื่องราวจากมุมมองส่วนบุคคลเกี่ยวกับการเชื่อมโยงกับพญานาค และการรับรู้ถึงความแตกต่างที่หลายคนมีต่อการสร้างบุญในแต่ละประเทศ มันแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์อันลึกซึ้งระหว่างมนุษย์และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงความอบอุ่นในครอบครัวแม้ในช่วงเวลาแห่งความไม่แน่นอน

หัวข้อประเด็น

-พญานาค
-การสร้างบุญ
-ความเชื่อในสังคม
-ความสัมพันธ์ในครอบครัว
-วัฒนธรรมไทยและลาว

ข้อความต้นฉบับในหน้า

D M C ช่องนี้มีคำตอบ อยู่ที่นี่ แต่อย่ามาจากผู้อื่น ที่เขาอยูไม่มีใครเชื่อว่ามีพญานาค และไม่สนใจเรื่องการสร้างบุญ ทันใดนั้นลูกก็เห็นภาพเมืองที่เหมือนสถานปฏิบธรรมอินเดีย มีแม่น้ำอยู่หน้าเมือง ซึ่งก็คือที่เดิมที่เขาเคยอยู่ รูปภาพของเขาไม่ใช่เสื้อผ้า ตามแม่น้ำ แต่เหมือนวัดมา ซึ่งเป็นเวลาที่วัดเรืองขา แต่เป็นลานนามของโลกมนุษย์ เขาเห็นแสงของการสร้างบุญของมนุษย์และความเชื่อของพญานาค ณ ที่แห่งนี้จึงพอยพามา ซึ่งโดยส่วนใหญ่มนุษย์ฝังใบนิ เชื่อถือและศรัทธาในพระพุทธเจ้ามากกว่านี้ ค่ะ ลูกรู้สึกว่าฝังใบนิ ของเขาคือประเทศลาว แต่เขาไม่ได้พูดว่าประเทศลาว และฝังนี้คือประเทศไทย คุฝังลาวเชื่อถือเรื่องการพนดวงไฟมาก แต่ฝั่งไทยส่วนใหญ่มาดูเพื่อความสนุกมากกว่ากศรธา เขาเล่าให้ลูกฟังอีกเยอะมาก จำได้ว่าเขาถามถึงสารทุกข์ของลูกว่าเป็นอย่างไรบ้าง แต่ก็ไม่ค่อยสนใจ และไม่ตอบ แถมรำคาญเขาด้วยซ้ำ จำคำว่า ๆ ได้ว่า เขาตาว่าคนนี้ชีวิตของเขาเป็นอย่างไรบ้าง เขาใช้สรพานแทนตัว “ช้า” และใช้สรพานแทนตัวลูกว่า “เจ้า” เช่น “เจ้าจะเป็นอย่างไรบ้าง” ลูกชื่อในสิ่งที่เขาเล่า ความรู้สึกของลูกที่มีต่อพญานาควั้นเหมือนเขาเป็นญาติผู้ใหญ่ที่สนิทมาก ๆ เพราะลูกไม่กลัวเขา และถ้าจะโตตอบโตได้โดยที่เขาไม่ว่าทั้งลูกทำสีหน้าเบื่อหน่ายและรำคาญ แต่เขาก็ยังเล่าด้วยสีหน้าอิ่มยิ้ม แย้ม ด้วยเสียงนุ่มนวลกังวาน เหมือนไม่ได้เจอกันนาน แล้วลูกรู้สึกอบอุ่นเหมือนใกล้กลับมาอยู่ในกลุ่มญาติพี่น้อง ๑๐๙ อยู่ในบุญ พฤษภาคม ๒๕๕๗
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More