คำสอนของพระพุทธเจ้าและการปรับตัวของวัดในสังคมสมัยใหม่ วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2557 หน้า 102
หน้าที่ 102 / 136

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการที่คำสอนของพระพุทธเจ้ามีความเป็นสากลและไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา แต่เมื่อเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรมและข้อมูลข่าวสาร ทำให้ชุมชนและวัดต้องปรับตัวตามสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป วัดเคยเป็นศูนย์กลางของชุมชน แต่ในปัจจุบันคนมีการย้ายถิ่นฐานมากขึ้น จึงทำให้ผู้คนห่างไกลจากวัด และผู้คนไม่รู้จักเจ้าวาสหรือธรรมะอย่างแท้จริง ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ใช่ที่คำสอน แต่เกิดจากการที่สังคมไม่ปรับตัวให้เข้ากับคำสอน ทำให้การเข้าวัดลดน้อยลง วัดควรต้องมีการจัดกิจกรรมเพื่อดึงคนเข้ามาสัมผัสกับคำสอนและปฏิบัติธรรมอย่างจริงจัง เพื่อให้พระพุทธศาสนายังคงมีชีวิตในสังคมต่อไป

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของคำสอนพระพุทธเจ้า
-การปรับตัวของวัดในสังคม
-ความเปลี่ยนแปลงของชุมชนไทย
-ปัญหาการห่างไกลจากวัด
-แนวทางการส่งเสริมการเข้าวัด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระพุทธศาสนา เพราะเขาบอกว่าเป็นคำสอนที่เยี่ยมยอดมาก ฉะนั้นแสดงว่าคำสอนของพระพุทธเจ้ายังทันสมัยอยู่ตลอด แม้ประเทศเศรษฐกิจ ความรู้ เทคโนโลยีจะก้าวหน้าไปกว่าเรา เขายอมรับคำสอนของพระพุทธเจ้า แต่ทำไมเมืองไทยจึงยังห่างวัด แสดงว่าปัญหาไม่ได้อยู่ที่คำสอน เพียงคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็น "อากาศโถ" ไม่ขึ้นกับกาล ทันสมัยเสมอ เป็นประโยชน์ต่อทุกชีวิต ทุกคน แต่อุปนิสัยใดๆ ในสังคมกายตัดจากองค์กรปรับเปลี่ยนตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมไม่ทัน คือแต่ละเราเป็นสังคมเก่า วัดอยู่กลางของหมู่บ้าน ใครเดินทางไกลผ่านมาไม่มีญาติหรือญาติไปพักที่วัด มีงานส่งสรรค์งานใดๆ จัดที่วัด มีเรื่องทะเลาะกันให้หลวงพอเจ้าจาวตัดสินให้ โรงเรียนอยู่ที่วัด ทุกอย่างไปรวมกันที่วัดหมด ฉะนั้นแม้พระอยู่ที่วัดเดีย ๓ คนก็ไปวัด เพราะวัดคือศูนย์รวมของชุมชน แต่พอเป็นสังคมอุตสาหกรรม คนไปเรียนหนังสือในเมืองบาง ทำงานในเมืองบาง มีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานกันมากขึ้น แต่ยังมีลักษณะเหมือนเดิม คือครอบครัว ย้ายมาจากอีสาน เหนือ หรือใต้ มาทำงานในกรุงเทพ มายู่ใกล้ ๓ วัด แต่เขาไม่รู้จักเจ้ าวาส บางที่อยู่๕ ปี ยังไม่รู้ว่าเจ้าวาสคืออะไร นี่คือเรื่องจริง จังหวัดของชีวิตก็เปลี่ยนไป อาชีพการงานทุกอย่างเปลี่ยนไปหมด ยิ่งตอนนี้จากอุตสาหกรรมเริ่มเข้าสู่ข้อมูล ข่าวสาร มีโรงภาพยนตร์ มีสถานีแข่งขัน สถานบันเทิงต่างๆ มีเรื่องามาถึงคนให้ท่านวัดมากมาย หน้าที่ของวัดในเขตของการเป็นศูนย์รวมของชุมชนจึงลดไป เหลือแต่หน้าที่ดั้งเดิมๆ คือการสอนธรรมะ ที่จริงพระท่านกังวลเหมือนกันที่เมื่อก่อนคนไปวัดมากมาย แต่ตอนนี้น้อยลงๆ เริ่มจากวัด ห่างไกลสถาณ ที่จริงเป็นเพราะว่าวัดปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมไม่ทัน เลยเกิดความเห็นห่างกันอยู่บ้าง คนไปวัดก็เงอะๆ เงือๆ เด็กเจอพระก็ไม่รู้จะไหว้อย่างไร จะแพูดอย่างไร ก็เลยไม่เอาดีกว่า บางคนเจอพระ เห็นท่านแทนตัวเองอ้างตาม ก็เลยเรียกตัวเองว่าถามบ้างผิดๆ ถูกๆ เลยไม่กล้าเข้าวัด สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าที่จริงแล้วคำสอนไม่มีปัญหา แต่ปัญหาคือเมื่อสังคมเปลี่ยนแปลงไป แต่คำสอนยังเปลี่ยนตามไม่ทัน ยิ่งมาถึงยุคข้อมูลข่าวสาร ยิ่งตามไม่ทันใหญ่ ในเมื่อคำสอนของพระพุทธเจ้าถูกอยู่แล้ว ไม่มีปัญหา เราต้องปรับรูปแบบการเผยแพร่ใหม่ เพื่อให้คนเข้าวัด จะนั่งอยู่ที่วัดเด ย ๆ รอคนเข้าวัดไม่ได้แล้ว คนจะมาวันน้อยลง เข้าวัดปฏิบัติธรรมน้อยลงไปเรื่อย ๆ คนจะห่างวัด อีกหน่อยชาวพุทธก็อาจ ลดลง ๆ เหลือวัดพระแค่ในทะเบียนบ้าน แต่ในต่างประเทศที่ศาสนาพุทธเจริญขึ้นๆ เพราะเขามุมงตรงเนื้อหา คือ คำสอน ดังนั้น องค์กรพุทธจะต้องลูกขึ้นมาทำกิจกรรมเพื่อดึงคนเข้าวัด ให้เขามาสัมผัสคำสอน ได้สัมผัสแล้วเขาจะพวน่า มวลแจังได้อะไรบ้าง คนมาชวแล้วต้องให้เขาฝึกตัวด้วย ได้ปฏิบัติ ด้วย อย่างที่เราเคยปฏิบัติธรรมให้ครูและนักเรียน ปากว่าแต่คนอย่ามัวแต่ไม่เคยรู้ว่า ธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้นดี ฟังเท่านั้น ก็ยังไม่มีพลังแล้ว ตื่นเต้นได้ และขอให้ไปถึงโรงเรียนต่อด้วย เพราะครูที่เคยมา ๔ - ๕ ท่าน อยากให้โรงเรียนได้พึงเหมือนกัน ลายเป็นว่ารวมะเป็นของดี แต่เขาไม่รู้ เหมือนใกล้จะถิ่นอีดง่าย เพราะฉะนั้น การจัดบวชพระเป็นเสน่ห์อบรมบุญญาบารมี ๓๐๘ คน หรือล้านคน ก็คือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More