การบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในประเทศไทย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2557 หน้า 105
หน้าที่ 105 / 136

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในประเทศไทย ซึ่งมีรากฐานมาจากนครศรีธรรมราชและเหตุการณ์ที่สำคัญในประวัติศาสตร์ซึ่งช่วยยืนยันความมีอยู่ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังกล่าวถึงการสร้างศาสนสถานต่าง ๆ อาทิเช่น วัด และพระเจดีย์ ที่มีความสำคัญต่อการเผยแพร่พระพุทธศาสนา การค้นพบวัดเช่น วัดพระเชตุพน และอีกหลายแห่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้ศรัทธาในการศึกษาและปฏิบัติธรรม ตลอดจนยืนยันถึงพุทธธรรมที่ยังคงอยู่จริงและยาวนาน ตามที่ได้ศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมกาย คณะพุทธศาสตร์

หัวข้อประเด็น

-การบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
-ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย
-ประวัติศาสตร์การสร้างพระเจดีย์
-การค้นพบวัดพระเชตุพน
-แรงบันดาลใจจากศาสนสถาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ได้รับการบรรจุไว้ โดยGotrys คาถา พระประยุคติโอพระพุทธองค์ สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์พระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า 1 ใน 6 แห่ง ซึ่งส่วนแบ่งมาจากนครศรีธรรมราช ในครั้งที่ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระหลังจากค้นพบแล้ว ท่านมาเคาศ เคอร์สัน อุปราชผู้ครองอินเดียมันนั่น ซึ่งเป็นผู้มความคุ้นเคยกับวิาขากี 5 ของไทย ได้แบ่งพระบรมสารีริกธาตุ ค้นพบมาให้ประเทศไทยด้วย ต่อมาวิชากาศที่ 5 โบราณกัล ให้สร้างพระเจดีย์ทองสำริดเป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุในที่วิเศษของพระบรมบูรพฤกษ์ (ภูเขาทอง) วัดสระเกศ กรุงเทพมหานคร นักปราชญ์ค้นพบพระสถานอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งสร้างในสมัยพุทธกาลและยุคถม เทพในรัฐอิสาสพบว่า "มีพระสถานโบราณอยู่ถึง 12 แห่ง" การสร้างพุทธสถาน เช่น การสร้างวัดหรือพระสถูปเจดีย์ ก็ถือเป็นยุคศตวรรษสำคัญในการยึดอายุพระพุทธศาสนา ทั้งนี้เพราะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระอรหสิากนั้นดำรงอยู่ไม่นาน แต่ศาสนสถานสร้างไว้จะดั่งร่งยังคงดำรงอยู่ เพื่อยืนยันคำสอนของพระองค์ ตราบกระทั่งปัจจุบัน แมกกาลเวลาจะผ่านมาไปจนกระทั่งศาสนสถานเหล่านั้นอาจจะผุพังเหลือแต่ซากก็ตาม แต่สิ่งนี้เป็นหลักฐานที่ยืนยันความมีอยู่จริงของพระพุทธองค์ ทำให้ได้วิเคราะห์คำสอนในพระไตรปิฎกเป็นเรื่องจริง ไม่ใช่เป็นเพียงตำนนานที่แต่งขึ้น และยังเป็นการแสดงถึงความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา การค้นพบวัดพระเชตุพนหรือศาสนสถานสำคัญ ๆ เหล่านี้จึงมีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการทำให้พระพุทธศาสนาสูงเด่นเป็นสง่าขึ้น และเป็นแรงบันดาลใจให้ชาวพุทธหนามานปทีพระพุทธศาสนาอีกครั้ง สำหรับผู้สนใจศึกษาธรรมวินัย มน่สนใจของพระพุทธศาสนา ศึกษาได้ที่มหาวิทยาลัยธรรมกาย คณะพุทธศาสตร์ รายวิชา GB 405 ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา พฤษภาคม ๒๕๕๘ อยู่ในบุญ ๑๐๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More