ทรานวบูสูตร: สูตรรัตนแห่งความสุข ทานบารมี  สูตรลัดแห่งความสุข หน้า 31
หน้าที่ 31 / 120

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สรุปแนวคิดจากพระสูตร ๑-๕ และอธิบายเกี่ยวกับการทอดกฐินที่ถือเป็นกาลทาน โดยเฉพาะ ๕ ข้อที่เป็นกนิษฐ์ในกาลทานสูตร ข้อที่สำคัญคือการทำทานที่ต้องมีความบริสุทธิ์จากทั้งฝ่ายทายกและปฏิคาหก พร้อมเผยแพร่แนวคิดที่อ้างอิงจากพระสูตรขนาดยาว, คุณลักษณะของฝ่ายทายกและปฏิคาหก, การให้ทานตามเวลาที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาต, และการประสานงานในการถวายทานที่ขึ้นอยู่กับศีล.

หัวข้อประเด็น

-ทรานวบูสูตร
-สูตรรัตนแห่งความสุข
-กาลทาน
-การทอดกฐิน
-ฝ่ายทายกและปฏิคาหก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ทรานวบูสูตร สูตรรัตนแห่งความสุข สรุปแนวคิดจากพระสูตร ๑-๕ ศึกษาเพิ่มเติมจาก กุลสูตร๑๙ ว่า ด้วยเหตุที่ทำให้ตรา กุล คับแค้น เพื่อเปรียบเทียบคำถามในท่านองเดียวกัน ในสมีย พุทธกาล เราเคยทราบกันว่าการทอดกฐิน จัดเป็นกาลทาน แต่ในกาลทานสูตร กลับไม่มีภิกขุ ที่เป็นเช่นนี้เพราะไม่ได้กว่าวโดยตรงโดยกิฎฐิการกาลทาน จะได้กนิษฐ์ ๕ ข้อ คือ ๑) ไปไหนไม่ต้องบอกลา ๒) ไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบ ๓) ฉันคณะโภชนได้ ๔) ทรงอดิเรกจีวรได้ตามปรารถนา ๕) จีวรอิริกวันนั้นจะได้กาพกเธอ ซึ่งอาจสงสัยในข้อ ๑ เที่ยวไปไหนไม่ต้องบอกลา จะตรงกับกาลทานสูตรข้อ ๒ ทายกยอมให้ท่านแก่เตรียมจะไป จึงถือว่ากิฎฐิเป็นกาลทาน ด้วยเหตุนี้ หรือจะถือว่าจะระยะเวลาในการทอดกฐิน ถูกจำกัดเวลาแค่ ๑ เดือน ตั้งแต่ว่าออกพรรษา ก็ได้ ๕. (มก) ทานสูตร หมวด ๒ นาฏกินบาตร องค์ประกอบในการทำทานของฝ่ายทายากร และฝ่ายปฏิคาหก ๑ อย่างเป็นของทายก (ญาติโยม ที่ถวายทาน) ๒ อย่างเป็นของปฏิคาหก (ผู้รับ คือ พระสงฆ์) นอกจากบุคคลเป็นผู้มีความบริสุทธิ์ทั้ง ๒ ฝ่ายแล้ว ตามทัศนาวังค์สูตร ทายกนอกจากมิสี่ศีล เป็นผู้บริสุทธิ์แล้ว ยังต้องดีใจ ก่อนให้, เลื่อนใจและเปลืองใจลงให้ทานแล้ว ปฏิคาหก นอกจากมีความบริสุทธิ์แล้ว ยังต้องมะนั่งในใจ ราคา, โทสะและโมหะ อีกด้วย ** พระสูตรนี้ปัจจุบัน สังยุตตนีภาย สพายตนวรรค, ล.๑๕๘, น.๔๑๒, มจร., หรือ ส.๒๙, น.๒๐๗, มธ. ** กาลทาน (อ่านว่า กาลทาน) แปลว่า ทานที่ถวายตามกาล, ทานที่ทรงอนุญาตให้รับได้ตามกาล คำว่า กาลทาน หมายถึงทานหรือสิ่งของที่กำหนดระยะเวลาถวายกิณฑ์ ซึ่งเป็นระยะเวลาที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาต
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More