ข้อความต้นฉบับในหน้า
แม่บำรวิารชนของผู้ให้ทานนั้น คือ บุตร ภรรยา ทาส คนใช้ คนทำงาน ก็ถือเป็นดี มิแม้แต่ผู้อื่น ข้อนี้เพราะเหตุไร ทั้งเป็นเพราะผลงของกรรมที่ตนกระทำโดยเคารพ (สัปปรถานสูตร ข้อ ๒. ครับให้ทานโดยเคารพแล้ว ย่อมเป็นผู้งิ่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคะมาก และเป็นผู้น่ารัก ภรรยา ทาส คนใช้หรืองาน เป็นต้น ผู้เชื่อฟัง เมียโสดลงสติบำบัดคำสั่ง ตั้งใจใคร่รู้ ในที่ถวายบ produce ผลในตรากูลใด ในตรากูลนั้น ๆ (สัปปรรถานสูตร ข้อ ๔) หรืออาจอคุสรุปได้ว่า การทำทานตามสูปรษถานสูตร ๕ ประการ ย่อมได้อานิสงส์ ๒ อย่างคือ
๑) จิตของผู้ให้ทานย่อมอ่อนลงเพื่อบริโภคอาหารอย่างดี ย่อมอ่อนลงไปเพื่อบริโภคผ้าอย่างดี ย่อมอ่อนลงไปเพื่อบริโภคยานอย่างดี ย่อมอ่อนลงไปเพื่อบริโภคความสุข ๕ อย่างดี ในที่นับเกิดผลในตรุูลใด ในตรุูลนั้น ๆ (สัปปรรถานสูตร ข้อ ๔)
๒) แม่บำรวิารชนของผู้ให้ทานนั้น คือ บุตร ภรรยา ทาส คนใช้ คนทำงาน ก็เชื่อฟังดี มีหิ้งไม่ไม่ส่งจิตไปที่อื่น เพราะ ผลของกรรมที่ตนกระทำโดยเคารพ (สัปปรรถานสูตร ข้อ ๒.)
การสร้างมหาทานของเวลามาพราหมณ์ เมื่อเทียบกับการทำสัตตกมมหาทาน“ ของพระเวสสันดร แล้ว มากกว่านั้น (ดูแผนภุมิ ที่ ๒ เปรียบเทียบการส่งสมบูญแต่ประเภท) สิ่งที่แตกต่างกัน คือชาติที่บังเกิดเป็นพระเวสสันดร สามารถสะสม อีก ๒ สิ่งสุดท้าย ที่ทำได้อาน ให้ครบทนี้เรียกว่า ปัญญาหาบริจาค (สิ่งที่ให้ได้มากที่สุด ถือเป็นประเพณีของพระโพธิสัตว์ทุกพระองค์ ต้องได้บำเพ็ญมหาบริจาค ๕ อย่าง คือ ๑) ธนบริจาค (การสะละทรัพย์สมบัติ) ๒) อานบริจาค (การสะละร่างกาย) ๓) ชีวิตบริจาค (การสะละชีวิต) ๔) บุญบริจาค (การสะละลูก) ๕) ภรีบํริจาค (การสะละภรรยา)