ข้อความต้นฉบับในหน้า
ทานวอรช สูตรดับแห่งความสุข
สรุปแนวคิดจากพระสูตร ๑-๑๗
ประเภทที่ ๓. ให้ทานในภิกษุสงฆ์ พูดง่าย ๆ ว่า จะไปทำบุญที่วัดโดยไม่จำจะจูงปฏิรูปแห่งก็ได้ หรือ นำอาหารใส่บาตรกับพระรูปใดรูปหนึ่งที่ผ่านหน้าบ้านก็ได้
ประเภทที่ ๖. เผดียสงฆ์ว่า ขอได้โปรดจัดกฐินจำนวนเท่านี้ขึ้นเป็นสงฆ์แม่บ้านเจ้า แล้วให้ทาน พูดง่าย ๆ ก็ คือ การนิรมิตด้วยวาจา หรือ ใบกะให้มาทำบุญที่บ้าน บริษัท ห้างร้านก็ได้โดยไม่จำจะจูงปฏิรูปแห่งแล้วต่อคณะสงฆ์เห็นสมควร
ดังอรรถกถา "ทักขิณวังศสูตร น.๔๐๗" ความว่า ก็บุคคลใดเตรียมไทยธรรมด้วยคิดว่า เราจักให้ทานถึงสงฆ์ไปวารี แล้วเรียนว่า บ้านติท่านผู้จริญ ขอท่านจงให้พระเถระรูปหนึ่งเจาะสงฆ์เกิด
ลำดับนั้น ได้สมาเนรจากสงฆ์ย่อมถึงความเป็นปัจจัยอื่นว่า เราได้สมเนรรแล้ว ดังนี้. ทักขิณาของบุคคลนี้ย่อมไม่ถึงสงฆ์.
เมื่อได้พระมาเถระแม่ก็เกิดความโสมขันธ์ว่า เราได้หาเถระแล้ว ดังนี้ ทักขิณาก็ไม่ถึงสงฆ์เหมือนกัน
ส่วนบุคคลใดได้สมเนร ผู้อุปถัมภ์แล้ว ภิกษหนุ่ม หรือเณร ผู้ผ้าหลายธัญญัติ รูปใดรูปหนึ่งจากสงฆ์แล้ว ไม่สงฆ์ย่อมอาจเพื่อทำความยำเกรงในสงฆ์ว่าเราจะถวายสงฆ์. ทักขิณา ของบุคคลนั้นเป็นอันชื่อว่าถึงสงฆ์แล้ว
✍️ คือคำที่รวมความอธิบายความในพระไตรปิฎกว่านาสิ เรียกว่า คำคืออรรถกถา ข้าง ปราศรัทธา ข้าง อรรถกถา จัดเป็นแหล่งความรู้ทางพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญของมวลามจากพระไตรปิฎก และใช้งเป็นหลักฐานอ้างอิงอย่างแพร่หลายในการศึกษาพระพุทธศาสนา