หิดธม์: หีบใส่คัมภีร์โบราณในล้านนา วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2558 หน้า 76
หน้าที่ 76 / 142

สรุปเนื้อหา

หิดธม์ หรือ หิดธรรม คือหีบที่ชาวเหนือใช้ในการเก็บคัมภีร์โบราณซึ่งมีประวัติศาสตร์ยาวนานในดินแดนล้านนา มักจะเป็นคัมภีร์ที่จารึกด้วยอักษรธรรมล้านนา โดยหีบพระธรรมในภูมิภาคนี้มีเอกลักษณ์ที่สำคัญที่แตกต่างจากที่อื่น มีลักษณะเป็นทรงลุ้ง โดยฐานสอบเข้าและปากหีบพายออก มีรูปแบบฝาที่หลากหลาย เช่น ฝาดด, ฝาคุ้ม และฝาเรือนยอด ซึ่งทั้งหมดนี้ช่วยสะท้อนถึงความเป็นศิลปะและวัฒนธรรมเฉพาะของชาวล้านนาในประเทศไทย dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของหิดธม์
-ลักษณะทางกายภาพ
-วัฒนธรรมล้านนา
-อักษรธรรมล้านนา
-เอกลักษณ์ของหีบพระธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หิดธม์ หรือ หิดธรรม เป็นคำที่ชาวเหนือใช้เรียกหีบใส่คัมภีร์โบราณ มีใช้สืบต่อกันมาแต่โบราณกาลในดินแดนล้านนา ส่วนใหญ่เป็นคัมภีร์โบราณที่จารึกด้วยอักษรธรรมล้านนา ซึ่งเป็นอักษรที่ใช้เองแพร่หลายบริเวณภาคเหนือล้านนาของประเทศไทย หีบพระธรรมที่ใช้ในภูมิภาคนี้บ่งว่ามีเอกลักษณ์เฉพาะที่แตกต่างจากหีบเก็บคัมภีร์โบราณของภาคอื่น เพราะมีลักษณะเป็น "ทรงลุ้ง" คือเป็นทรงสีเหลี่ยม ด้านล่างของฐานสอบเข้า ส่วนปากหีบพายออก มีฝาโรบปิดด้านบนซึ่งมีหลายลักษณะทั้งฝาดด ด้านคุ้ม และฝาเรือนยอด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More