ที่เก็บคัมภีร์ใบลาน: ศิลปหัตถกรรมไทย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2558 หน้า 77
หน้าที่ 77 / 142

สรุปเนื้อหา

ที่เก็บคัมภีร์ใบลานแบ่งเป็น 3 ส่วนหลักคือ ตัวแทน ส่วนฐาน และฝาปิด ใช้ไม้จันทน์เพราะไม่เสียรูปทรงและทนต่อสภาพอากาศ การสร้างเริ่มจากฐานที่รับน้ำหนัก แล้วจัดทำโครง ทำให้ฝาปิดสนิทและขัดผิวไม้เพื่อรักษาคุณภาพ ใช้สีจากธรรมชาติในการตกแต่ง เช่น สีเหลืองจากยางไม้และทองคำเปลว พร้อมการประดับด้วยเทคนิคต่าง ๆ เป็นงานศิลปะที่มีความงามด้วยฝีมือของช่างสมัยโบราณ.

หัวข้อประเด็น

- ส่วนประกอบของที่เก็บคัมภีร์
- วัสดุที่ใช้ในการสร้าง
- เทคนิคการตกแต่งและประดับ
- ความสำคัญในการเก็บรักษาคัมภีร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ที่ถือว่ามีประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ ตัวแทน ส่วนฐาน และฝาปิด นิยมใช้ไม้จันทน์เป็นวัสดุ เนื่องจากเนื้อไม้ไม่เสียรูปทรงเมื่อผ่านมาเกะสลัก และมีความคงทนต่อสภาพอากาศ เป็นงานหัตถศิลป์ที่เน้นความแข็งแรงเพื่อเก็บรักษาคัมภีร์ใบลานให้ยั่งรอดปลอดภัยในสภาพที่สมบูรณ์มากที่สุด การสร้างที่ดีมิลเริ่มจากการนำไม้มาซ่อมทำเป็นฐาน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการรับน้ำหนัก จากนั้นจะขึ้นโครงแล้วนำแผ่นไม้มาบุรอบ ส่วนฝาปิดจะใช้รามเข้าเดียว ซึ่งต้องทำให้สมบิดได้สนิท ไม่หลวมหรือแน่นเกินไป เมื่อจะหยิบหรือบรรจุคัมภีร์ใบลานจะใช้วิธีเคาะฝีปืนด้านนอกจากนั้นจะขัดผิวไม้ให้เรียบ ทำด้วยขาด รัก หรือสี เพื่อรักษาคุณภาพของเนื้อไม้ในอดีดีที่ใช้มาจากธรรมชาติ เช่น สี ออกจากเขม่ามาไฟ สีเหลืองจากยางไม้ และสีทองจากทองคำเปลว เป็นต้น แล้วจึงประดับตกแต่งด้วยเทคนิคต่าง ๆ มีการลงรักปิดทองเขียนลายกนก หรือตกแต่งด้วยการวาดลายให้สวยงาม บางครั้งก็การแกละสลักไม้เป็นลวดลายต่าง ๆ หรือนำกระจามมาประดับเพื่อเพิ่มมิติและทำให้มีความระยับสวยงามเป็นงานศิลปะที่สร้างสรรค์ขึ้นด้วยฝีมือของช่างสมัยโบราณ หน้าพระธรรมทรงจัมแบบปักฝา คุม และฝาเรือนยอด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More