การเปลี่ยนแปลงของวันปีใหม่ในประเทศไทย วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน มกราคม พ.ศ.2558 หน้า 103
หน้าที่ 103 / 142

สรุปเนื้อหา

ส่วนของไทยได้รับอิทธิพลจากอินเดียในการนับวัน โดยในอดีตใช้จันทรคติซึ่งวันแรก เริ่มต้นจากวันแรม ๑ ค่ำ เดือนอ้าย ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงเป็น ๑ เมษายน ในปี พ.ศ. ๒๔๓๓ เพื่อรักษาความเรียบร้อยและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ชาวบ้านยังคงยึดช่วงตรุษสงกรานต์เป็นวันฉลอง แต่ภาครัฐกำหนด ๑ เมษายน เป็นวันเปลี่ยนศักราช ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๕๔ จวบจนปัจจุบัน.

หัวข้อประเด็น

-ประวัติวันปีใหม่
-การเปลี่ยนแปลงตามหลักจันทรคติ
-อิทธิพลจากอินเดีย
-วันที่ ๑ เมษายน
-ตรุษสงกรานต์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ส่วนของไทยได้รับอิทธิพลจากอินเดีย เดิมเรานับแต่งเดือนนี้เป็นเดือนตามหลักจันทรคติ ซึ่งถือว่า วันนี้เป็นไหมดรงกับวันแรม ๑ ค่ำ เดือนอ้าย (ประมาณเดือนธันวาคม) วันแรม ๑ ค่ำเดือนอ้ายก็คือ วันนี้เป็นไหมไทย เป็นคึนพุทธแต่โบราณ ต่อมาคิดพราหมณ์เข้ามาแทรก เราจึงเปลี่ยนไปถือ วันนี้เป็นไหมช่งคราญ คือวันที่ ๙ ค่ำ เดือน ๕ (ประมาณเดือนเมษายน) เราก็แบบนี้ มานานพอสมควร จนถึงมัชย์ราฎิากาลที่ ๕ พระองค์ทรงคิดว่า ถ้าถือตามจันทรคติ ปีใหม่แต่ละปี จะเปลี่ยนไปเรื่อย วันที่ ๑ เมษายนบ้าง ๕ เมษายนบ้าง ๒๐ เมษายนบ้าง จ่ายจาก จึงทรง กำหนดว่าให้นับขึ้นปีใหม่เป็นวันที่ ๑ เมษายน เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๓๓ ถืออย่างนี้ มารื่อย ๆ ส่วนชาวบ้านทั่วไปก็ยังถือเอาช่วงตรุษสงกรานต์กลาง ๆ เดือนเมษายนเป็นวันฉลอง แต่ทางการถือว่า ๑ เมษยน คืองวันเปลี่ยนศักราช ต่อมาเปลี่ยนแปลงเป็นระบบปัจจุบันในปี พ.ศ. ๒๔๕๔ สมเด็จพระปิ่นเกล้า พ. พระพิลาสคราม เป็น นายกรัฐมนตรี คือถ้าวันนี้เป็นวันแรกของปี ๑ มกราคม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More