ข้อความต้นฉบับในหน้า
ว่า "กรุงเทพมหานคร บวบรัตนโกสินทร์ฯ" แผ่นดินไทยขณะนั้นเพิ่งผ่านความคุรุนของสงครามเมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า หรือแม้ในรัชสมัยพระองค์เองก็ยังปรากฏมีศึกสงครามอย่างต่อเนื่อง บ้านเมืองถูกทำลายย่อยยับ จิตใจของผู้คนในชาติจอบช้ำจากการสูญเสีย พระองค์จึงทรงมีพระราชปณิธานแน่วแน่ที่จะปกป้องเอกสารของบ้านเมือง ควบคู่ไปกับการเร่งฟื้นฟูบ้านเมืองและกำลังใจของพลศิษย์ในชาติ ด้วยการทำนุบำรุพระพุทธศาสนาให้กลับมามีอยู่ในในอาณาเขตของอาณาเขตของแผ่นดินในที่สุดก็สามารถรื้อฟื้นบ้านเมืองและบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองดังเดิมได้ในที่สุด
ในด้านศาสนสถาน มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้สร้างวัดพระศรีรัตนศาสดารามขึ้นในเขตพระบรมมหาราชวัง เจริญรอยตามพระราชประเพณีสร้างพระอารามหลวงในเขตพระบรมมหาราชวังตามแบบกรุงศรีอยุธยา พร้อมทั้งสร้างหอพระไตรปิฎก พระราชทานนามว่า หอพระฒนเทียรธรรม ไว้เป็นสถานที่เก็บ คัมภีร์พระไตรปิฎกของหลวง หอพระฒนเทียรธรรมเป็นอัฐสุคณะพระพุทธศาสนาของหลวงหลังแรก แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ในด้านพระธรรม มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้สานต่องานรวบรวมคัดลอกคัมภีร์พระไตรปิฎกที่พระเจ้ากาสีนิมหราชทรงเริ่มไว้แต่ครั้งกรุงธนบุรี แต่สิ้น รัชกาลก่อนที่คัมภีร์พระไตรปิฎกฉบับหลวงยังมีความคาดเคลื่อนไม่มาก เนื่องจากคัดลอกจากต้นฉบับจากหัวเมืองน้อยใหญ่ที่ไม่ครบถ้วน พระองค์พร้อมด้วยสมเด็จพระอนุชาธิราช กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทจึงทรงอาราธนาสมเด็จพระญาณสังวร (ศรี) พร้อมพระราชคณะฐานานุกรมปรีญญา จำนวน ๑๐๐ รูป มาสอบถามครั้งทรงรณรงค์ว่า พระไตรปิฎกที่มีอยู่ผิดเพี้ยนจริง และฝ่ายคณะสงฆ์ก็มีประสงค์จะทำนุบำรุงให้สมบูรณ์ถูกต้อง แต่ก็กลังไม่พอจะทำให้สำเร็จได้ จึงทรงอาราธนาฯ ให้คณะสงฆ์จัดทำสำเนาพระไตรปิฎกขึ้น นับเป็นการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นราชกิจนานาประโยชน์จำนวน ๑๐๐ รูป มาสอบถามครั้งทรงรณรงค์ว่า พระไตรปิฎกที่มีอยู่ผิดเพี้ยนจริง และฝ่ายคณะสงฆ์ก็มีประสงค์จะทำนุบำรุงให้สมบูรณ์ถูกต้อง แต่ก็กลังไม่พอจะทำให้สำเร็จได้ จึงทรงอาราธนาฯให้คณะสงฆ์จัดทำสำเนาพระไตรปิฎกขึ้น นับเป็นการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นการสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 2 ของราชอาณาจักรไทย ด้วยมีพระสงฆ์ ๒๐๐ รูป ราชันต์ยอดนาย ๒๓ ท่าน มีสมเด็จพระสังฆราช เป็นประธาน ทำการสังคายนา ณ วัดนิโพธาราม (วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ราชวรมหาวิหาร) โดยนำคัมภีร์พระไตรปิฎกฉบับหลวงมา ตรวจสอบ ใช้เวลา ๕ เดือน จึงสำเร็จสมบูรณ์.