กรรมและการแบ่งระดับของกรรม วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน เมษายน พ.ศ.2558 หน้า 97
หน้าที่ 97 / 136

สรุปเนื้อหา

กรรมมีการแบ่งเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ครูกรรมซึ่งมีผลทันที รองลงมาคือ นิยมจาฏฐ หรือความเห็นผิดที่ทำให้คนไม่เข้าใจเรื่องของบาปบุญ, และอนันตริวรรธ ๕ ซึ่งเป็นกรรมที่มีโทษร้ายแรงที่สุด เช่น การทำร้ายพระพุทธเจ้าและการทำสงฆ์แตก การเข้าใกล้คนที่มีมิจฉาจาฏฐอาจทำให้เราหลงผิดและประสบแต่ความทุกข์

หัวข้อประเด็น

-แบ่งระดับกรรม
-ครูกรรม
-นิยมจาฏฐ
-อนันตริวรรธ ๕
-ผลของกรรมต่อชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กรรมมีการแบ่งระดับอย่างไร? และส่งผลในแต่ละระดับต่างกันอย่างไร? จำแนกกรรมตามลำดับการให้ผลได้เป็น ๔ ระดับ ดังนี้ ๑. ครูกรรม “ครู” แปลว่า “หน้า” ครูกรรม คือ กรรมหนัก ใครไปทำกรรมนี้เข้า กรรมนี้จะให้ผลก่อนเลย จะทำการอธิบายอีกมากมายเท่าไรก็ได้ ตาม รอไม่นาน ครูกรรมให้ผลก่อนทันที เพราะว่าเร็วที่สุด ครูกรรมทั้งฝ่ายบุญและฝ่ายบาป ครูกรรมฝ่ายบาป แบ่งเป็น ๒ อย่าง ได้แก่ ๑.๑ นิยมจาฏฐ “มิจฉาจาฏฐ” คือ “ความเห็นผิด” เช่น เห็นว่าพ่อแม่ไม่มีพระคุณ นรกสวรรค์ไม่มี บุญบาปไม่มี ไม่เชื่อว่าพระพุทธเจ้าจริง ไม่เชื่อว่าผู้ที่หมดก็เสมอจริง เหล่านี้คือมิจฉาจาฏฐ คนที่มีมิจฉาจาฏฐผูกคนอื่นไม่ค่อยดีเท่าไร คือ ไม่เชื่อนรกสวรรค์จริง ๆ ไม่เชื่อว่ามีจริง แต่สัก ๔-๕ ทุ่ม ให้ไปขอบญบอกบ้านหนึ่งอย่ากลางทุ่ง เขาบอกไม่ไป กลัวผี คือลือว่ามีการเวียนว่ายตายเกิด แต่กลัวผี อย่างนี้มีอยู่ เป็นประเภทปากกล้าขนาดไหน พวกนี้ยังมีโอกาสกลับไปกลับมา ว่าที่ไม่เชื่อ ๆ อีกสักพักอาจจะกลับมาเชื่อทีได้ แต่พวกนิวัติจราฎฐ คือ มิจฉาทิฏฐิ เป็นมิจฉาทิฏฐิไม่เปลี่ยนแปลง “นิยาย” แว่วว่าเที่ยนแท่นอน พวกนี้ฝ่ายล่างไปเลย ประเภทนี้ตายแล้วไม่ใช่เฉย ๆ กรรดรดา แต่งโล้นดมทานรกรเลย ลงเวียงมหารกว่าหน้าแล้ว โลันด์หนกว่าเป็นล้านเท่า ใครที่ลงไปโล่นต์ กว่าจะหมดกรรมกลับมาเกิดเป็นมนุษย์ได้ ยากพอ ๆ กับคนที่อยู่บนโลกมนุษย์แล้วหมดเลยเข้าสวรรค์พาน พวกนั้นเลย เพราะฉะนั้น นิยมจาฏฐจึงกลัวที่สุด เราอย่าไปเข้ากับคนที่เป็นมิจฉาจาฏฐ อันตรายมาก ถ้าเข้าไปแล้วจะค่อย ๆ คล้อยตามเข้าไปเรื่อย ๆ ถ้านานขึ้น ๆ จนกระทั่งดึงเข้าไป เราแย่เลย ปัญญุปฏิคุฑฑ์ทุกอย่าง ชีวิตเราจะมีแต่ความทุกข์ชั่วนาทีล่วงไปสู่อีกนานเท่านาน ๑.๒ อนันตริวรรธ ๕ “อนันต” แปลว่า “มากมายมหาศาล” อนันตริวรรธ คือ กรรมที่หนัฃบมหาศาล มี ๕ ข้อ คือ ๑. มํิดา ๒. มํามา… ๓. มําพระอธินต์ ๔. ทําร้ายพระพุทธเจ้าจนเลือด พระพุทธเจ้าเป็นผู้ไม่มีใครปล่อยชีวิตได้ หากจะทําร้ายพระองค์ ทำได้อย่างมากที่สุดแค่เลือดออก ดังที่พระเทวทัตกลิ้งหนีจากภูเขาเพื่อให้ลิงไปทับพระพุทธเจ้า แต่มันแกล้งหนีมาเลงไว้ จนกระทั่งเกิดสะเทือนเล็ก ๆ มากระทบพระบาทจนห้อเลือดขนาดเท่าแม่งสว่นนีอิม่เดียว แม้จะแค่น้อยแต่ก็ถือว่าพระเทวทัตทำอนันตริวรรธแล้ว ๕. ทำสงฆ์แตก คือ อยู่ในพระแตกกัน ในบรรดานันตริวรรธ ๕ ข้อนี้ สังเกทหนักที่สุด ใครไปอยู่ให้พระทะเลาะกัน แตกแยกเป็นก็เป็นเหล่า บาปหน้าถึงกว่าผ่ามือแม่อีอีก อย่างไปเสี่ยง อย่างคะนองปาก นักว่าแน่น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More