ข้อความต้นฉบับในหน้า
และอีกหลักฐานหนึ่งเป็นคัมภีร์ใบลาน
อักษรสิงหลของมหาวรรณปีกิ่ง แต่ไม่มีบันทึกท้ายคัมภีร์ระบุอายุขัดเจนเหมือนหลักฐานชิ้นแรก เมื่อศึกษาการนำเนื้อความไปศึกษา พบว่าเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระเวสสันดรชาดก และเมื่อจารุปแบบอักษรที่ใช้จารจารึกไปได้คระทั่งเปรียบเทียบกับศิลาจารึกของศิลปะยุคโบราณในระวะ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๑๒๗๐) ก็พบความคล้ายคลึงกันของรูปแบบอักษรบนคัมภีร์ใบลานของมหาวิทยาลัยปักกิ่งอาจมีอายุเก่าแก่่อนใกล้ถึงศตวรรษที่ ๑๑ เลยทีเดียว
นอกจากความเก่าแก่เองคัมภีร์ใบลานแล้ว จากการเดินทางสำรวจและบันทึกภาพคัมภีร์ เพื่อมาศึกษาวิเคราะห์ตามหลักภาษาบาลี อีกพระศาสตรื และสัคศาสต์ โดยโครงการพระไตรปิฎก ฉบับวิทยากร ทำให้พบเอกลักษณ์ของคัมภีร์พระไตรปิฎกสายอักษรสิงหลที่โดเด่น คือ ไม่ว่าสมมติจะมาจากภูมิภาคใดของประเทศสิงหลาก็ตาม เนื้อความจะมีความเป็นเอกภาพในด้านสยามกลิธี ค่อนข้างสูง ทั้งนี้อิ่นฐานรากได้สงเสริมเนื่องมาจากหลักฐานอุจจาระของประเทศสิงหลากาที่มีขนาดพื้นที่ค่อนข้างเล็ก อีกทั้งยังเป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ดังนั้นการจารคัมภีร์ใบลานอักษรสิงหลเพื่อทดแทนฉบับเดิมที่พังจากรุ่นสู่รุ่น จึงอยู่ในรูปจำกัดและได้รับอิทธิพลจากภายนอกค่อนข้างน้อย
แผนที่เกาะสิงหลโบราณจากดัมรีส์แห่งหวางค์
ที่มา Geiger, W. (1912). The Mahavamsa or the Great Chronicle of Ceylon. London, Oxford University Press, Amen Corner, E.C.