อาณาจักรพุกามและพระพุทธศาสนาอราวาท  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 หน้า 65
หน้าที่ 65 / 108

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการค้นพบและประวัติศาสตร์ของชนชาติทมิฬ รวมถึงการนำเข้าศาสนาพุทธเข้าไปในอาณาจักรพุกามซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มน้ำอิรวดี โดยมีการรวมตัวของอาณาจักรต่าง ๆ ในช่วงเวลานั้น ภายใต้การนำของพระเจ้าอนราธา ที่ทรงรวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาด้านศาสนจักร ผ่านการส่งเสริมพระพุทธศาสนาอราวาท จนนำไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองในอาณาจักรพุกาม เป็นที่มาของโบราณสถานต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมายในเมียนมา ที่สะท้อนการแพร่หลายของพระพุทธศาสนาในยุคนั้น

หัวข้อประเด็น

-อาณาจักรพุกาม
-ชนชาติทมิฬ
-พระพุทธศาสนาอราวาท
-ประวัติศาสตร์เมียนมา
-โบราณสถาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ใครเคยสำรวจพบมาก่อน สำหรับเรื่องราวในตอนนี้จะกล่าวถึงชนชาติทมิฬ ซึ่งได้รับเอาความเจริญของชนชาติมิตรอันและปะปนเข้ามาผสมผสาน โดยเฉพาะการรับเอาพระพุทธศาสนาเจริญเข้าไปยังหวอาจจักพุทธกาม ซึ่งเป็นอาณาจักรแรกของชนชาติมิฬา เมื่ออาณาจักรของชาวปูยเสื้ออำนาจจงจากการกรานของอาณาจักรน่านเจ้า ชาวมุ้งมีเชื้อสายม่า-ทิบริดจงพยพจากทางตอนใต้ของจีนเข้ามาดินฐานกระจายอำนาจจากการปกครองบริเวณตอนกลางของลุ่มน้ำอิรวดีแทนชนเผาปูย และสถาปนาอาณาจักรพุกามขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ศูนย์กลางของอาณาจักรตั้งอยู่ในปภูมิประเทศที่แห้งแล้งซึ่งจะทะเลทราย แม่เช่นนี้เนื่องจากเป็นบริเวณที่เหมาะสมดีนั่น เป็นบริเวณที่แม่น้ำไหลมารวมกันแม่เช่นเดียว กับในรัชสมัยพระเจ้าอุเบรนรามมังช่อ (พระเจ้ามินราธา) พระองค์ทรงรวบรวมแว่นแคว้นน้อยใหญ๋ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน พระองค์จึงได้รับยกย่องให้เป็นปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรพุกาม นอกจากความเป็นปึกแผ่นด้านอาณาจักรแล้ว พระองค์ยังทรงวางรากฐานด้านศาสนจักรโดยการประดิษฐานพระพุทธศาสนาอราวาทในแผ่นดิน ทั้งยังทรงให้การอุปถัมภ์คำจุน เป็นผลให้เมืออาณาจักรพุกามเป็นยุคพระพุทธศาสนาอราวาทมีความเจริญรุ่งเรืองสุดในประวัติศาสตร์เมียนมา ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากโบราณสถานทางโบราณคดีเป็นอันดี วิหาร และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ มากกว่า ๑,๐๐๐ แห่ง จนกระทั่งพุกามได้รับ ภาพวาดฝาผนังโบราณเป็นภาพพระเจ้าอนราธาและคณะพระภิกษุ (continued...)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More