ตรีมูรติและการแบ่งแยกนิกายในสังคมอินเดียโบราณ  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 หน้า 88
หน้าที่ 88 / 108

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความคิดเกี่ยวกับ 'ตรีมูรติ' ในสังคมอินเดียโบราณ โดยชี้ให้เห็นการแบ่งแยกระหว่างนิกายที่มีการบูชาพระวิษณุและพระศิวะ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของเทพเจ้าสูงสุดจาก 'พระอินทร์' สู่ 'พระพรหม' แสดงให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงในอำนาจและวรรณะในยุคพราหมณ์ เป็นการวิเคราะห์ถึงการสร้างเทพเจ้าและระบบวรรณะในสังคมโบราณ

หัวข้อประเด็น

- ความคิดเรื่องตรีมูรติ
- การแบ่งแยกนิกาย
- เทพเจ้าสูงสุด
- การเปลี่ยนแปลงในอำนาจ
- ระบบวรรณะในยุคพราหมณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ตรุมบูรณ์" มีอยู่ด้วยกันหลายรูปปลายต่าง บ้างว่ามี 1 เคียง บ้างว่ามี 1 เคียง แต่ 3 พักร์ แม้ว่าจะสามารถตอบโจทย์เรื่องกฎธรรมชาติได้ แต่ในกลาดำมา แนวความคิดเรื่อง "ตรีมูรติ" นี้ กลับกลายเป็นความขัดแย้งในเรื่อง "เทพเจ้าสูงสุด" จนกลายเป็นมูลเหตุในการแบ่งแยกนิกาย คือ กลุ่มที่บูชา "พระวิษณุ" ได้กำเนิดเป็นนิกาย "ไตรพรนะ" มือถือพิพาททางอินเดียตอนเหนือ ส่วนกลุ่มที่บูชา "พระศิวะ" ได้กำเนิดนิกาย "ไวดะ" มือถือพิพาททางอินเดียตอนใต้ จากแนวความคิดเรื่องเทพเจ้าดั้ง ๓ ที่เกิดขึ้นใน "ยุคพราหมณ์" นี้ นอกจากจะเห็นได้ว่าแท้จริงแล้วเทพเจ้าจะไม่ใช่ผู้สร้างมนุษย์ แต่ในทางกลับกัน มนุษย์กลับเป็นผู้สร้างเทพเจ้า ต่าง ๆ ให้เกิดขึ้น ยังกำหนดให้แนวคิดในการถ่ายทอดจากอาณาจักรจนครจากวรรณะ "กษัตรย์" ไปสู่วรรณะ "พราหมณ์" โดยจะเห็นได้จากใน "ยุคพระเวท" เทพเจ้าสูงสุด คือ "พระอินทร์" เป็นเทพสงครามเป็นสัญลักษณ์ของความกล้าหาญ เปรียบเสมือนได้เป็นแทนของวรรณะ "กษัตริย์" แต่เมื่อมาถึง "ยุคพราหมณ์" เทพเจ้าสูงถูกเปลี่ยนมาเป็น "พระพรหม" ซึ่งเปรียบเสมือนกับตัวแทนของวรรณะ "พราหมณ์" ตรงนี้เป็นเครื่องแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนขั้วอำนาจของวรรณะขั้นสูงทั้ง ๒ วรรณะ ไม่เพียงแต่วรรณะ "กษัตริย์" เท่านั้นที่ได้รับผลกระทบ แต่วรรณะขั้นล่างอย่าง "แพศย์" (วรรณะ) และ "ครุฑ" ก็ได้รับผลกระทบเช่นกัน กล่าวคือ "พราหมณ์" ได้เอาเนื้อความในคัมภีร์ "ปุราณสุคต" (Purusaśukta) ซึ่งเป็นคัมภีร์ในปลายยุคพราหมณ์ ที่มีใจความกล่าวถึงวรรณะ "พราหมณ์" ว่ามีลักษณะจาก "ปาก" ของพระพรหม วรรณะ "กษัตริย์" กำเนิดจาก "แขน" วรรณะ "แพศย์" กำเนิดจาก "ต้นขา" และวรรณะ "ครุฑ" กำเนิดจาก "เท้า" ของพระพรหม มา ขยายผลในระบบวรรณะ เป็นการก่อตั้งให้ผู้ที่อยู่ในวรรณะขั้นล่างไม่เห็นหนทางในการเอาชนะระบบวรรณะได้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความรุนแรงของการแบ่งชั้นวรรณะในสังคมอินเดียโบราณ "ยุคพราหมณ์" อย่างชัดเจน เป็นความรุนแรงที่มีกว่ามาใน "ยุคพระเวท" ใน "ยุคพราหมณ์" นี้ เราได้เห็นถึงการกำเนิดขึ้นของ "พระพรหม" เทพเจ้าที่ได้ชื่อว่า "เป็นผู้สร้างโลก" รวมถึงพัฒนาการไปสู่ "ตรีมูรติ" เป็นการแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและมีอำนาจของวรรณะ "พราหมณ์" ที่จะกล่าวได้ว่า "เทพผู้สร้างโลก" รวมถึงพัฒนาการไปสู่ "ตรีมูรติ" เป็นการแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและมีอำนาจของวรรณะ "พราหมณ์" ที่จะกล่าวได้ว่า "เทพผู้สร้างโลก" รวมถึงพัฒนาการไปสู่ "ตรีมูรติ" เป็นการแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและมีอำนาจของวรรณะ "พราหมณ์" ที่จะกล่าวได้ว่า "เทพผู้สร้างโลก" รวมถึงพัฒนาการไปสู่ "ตรีมูรติ" เป็นการแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและมีอำนาจของวรรณะ "พราหมณ์" ที่จะกล่าวได้ว่า "เทพผู้สร้างโลก" รวมถึงพัฒนาการไปสู่ "ตรีมูรติ" เป็นการแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและมีอำนาจของวรรณะ "พราหมณ์" ที่จะกล่าวได้ว่า "เป็นผู้สร้างโลก" รวมถึงพัฒนาการไปสู่ "ตรีมูรติ" เป็นการแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและมีอำนาจของวรรณะ "พราหมณ์" ที่จะกล่าวได้ว่า "เป็นผู้สร้างโลก" รวมถึงพัฒนาการไปสู่ "ตรีมูรติ" เป็นการแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและมีอำนาจของวรรณะ "พราหมณ์" ที่จะกล่าวได้ว่า "เป็นผู้สร้างโลก" รวมถึงพัฒนาการไปสู่ "ตรีมูรติ" เป็นการแสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งและมีอำนาจของวรรณะ "พราหมณ์" ที่จะกล่าวได้ว่า "เป็นผู้สร้างโลก"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More