ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอนที่ 5  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 หน้า 89
หน้าที่ 89 / 108

สรุปเนื้อหา

ตอนที่ 5 นี้พูดถึงการเปลี่ยนแปลงในระบบวรรณะของพระพุทธศาสนา โดยเน้นที่บทบาทของ พระอินทร์ และ พระพรหม ที่สร้างความเข้มแข็งให้แก่พราหมณ์และการกำเนิดของวรรณะที่แตกต่างกัน เช่น วรรณะพราหมณ์จากปาก วรรณะแพศย์จากต้นขา วรรณะกษัตริย์จากแขน และวรรณะศุทรจากเท้า การจัดลำดับที่แสดงถึงอำนาจของวรรณะพราหมณ์ ซึ่งสร้างการแบ่งชนชั้นที่ชัดเจนขึ้น และนำไปสู่แนวคิดเกี่ยวกับโมกขะซึ่งจะกล่าวถึงในตอนถัดไป

หัวข้อประเด็น

-ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
-การเปลี่ยนแปลงวรรณะ
-บทบาทของพระอินทร์และพระพรหม
-กำเนิดวรรณะต่าง ๆ
-แนวคิดโมกขะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ท่องประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ตอนที่ 5 (ต่อ) ภาพ : พ.ณัฐวัฒน์ นามูโส Facebook NATPRAME การเปลี่ยนเข้าสืออำเภในระบบบรรณะ "พระอินทร์" ผู้เป็นเทพสงคราม เสมือนตัวแทนของวรรณะ "กษัตริย์" ถูกลดความสำคัญ "พระพรหม" เป็นผู้สร้าง เสมือนกับตัวแทนของวรรณะ "พรหม" แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนข้าราชของวรรณะชั้นสูงทั้ง 2 วรรณะ พรหมณิจึงสร้างระบบต่าง ๆ เพื่อดอปย๋ใหวรรณะของตนเข้มแข็งขึ้น กำเนิดของวรรณะต่าง ๆ ที่มาจากส่วนต่าง ๆ ของพรหม วรรณะพราหมณ์ กำเนิดจาก "ปาก" วรรณะแพศย์ (ไวกุะ) กำเนิดจาก "ต้นขา" วรรณะกษัตริย์ กำเนิดจาก "แขน" วรรณะศุทร กำเนิดจาก "เท้า" จะเห็นว่าวรรณะพราหมณ์มาจากส่วนวรรณะกษัตริย์ยัมจาก "แขน" ซึ่งอยู่ต่ำกว่าเป็นการแสดงอำนาจที่อาจกล่าวได้ว่าวรรณะพราหมณ์อยู่สูงสุด ซึ่งเป็นการสร้างอำนาจของพราหมณ์ และทำให้การแบ่งชนชั้นวรรณะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอีกด้วย และหลังจากนั้นก็เกิดแนวคิดเรื่อง "โมกขะ" ที่ทำให้ทุกพราหมณ์ต้องระลึก ซึ่งจะเป็นอย่างไรและเกี่ยวข้องอย่างไรกับพระพุทธศาสนา โปรดติดตามในตอนต่อไป กุมภาพันธ์ 2564 อยู่ในบุญ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More