ข้อความต้นฉบับในหน้า
ตัวอย่างภาพวาดนัตหลวงจากจำนวนทั้งหมด ๑๓ ตน ซึ่งในเนื้อยชรเชฮกเองเป็นสถานที่เดียวที่มีอู่่นัตครบทั้ง ๑๓ ตน แต่ตัวทำจากไม้ ตกแต่งตัวด้วยอารมณ์หลากสี
ที่มา: Temple, S. R. C. (1906). The Thirty-seven Nats by Sir Richard Carnac Temple. London: W. Griggs.
ในด้านศาสนาภทรลังเห็นว่า ขาว พุทธามในขณะนั้นมีความง่วงงามเรื่องผี และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่มีอำนาจเหนือธรรมชาติ ที่เรียกว่า "นัต" ทั้งยังถูกครอบงำด้วยอิทธิพล คำสอนของนักบวชชนอกรีตที่เชื่อในเวทมนต์ คาถาและมีหลักปฏิบัติที่ด้านกับคำสอนของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์มีมโนบิน เมื่อพระองค์ทรงพบกับพระสงฆ์ มอบผู้ปฏิบัติธรรมปฏิบัติตนานว่า พระ- ชินอรหันต์ ที่เดินทางจากเมืองสงบเพื่อ มาผู้แผ่พระพุทธศาสนาเรวทางดินแดน พุกาม พระเจ้าจในราติรงค์พระองค์ พระรัตถาเลื่อมใสเป็นอย่างมาก จึงทรงส่งเสริม การเผยแพร่พระพุทธศาสนาไปทั่วแผ่นดิน และ มีพระราชกษรเสร็จสั่งให้จ่านักบวชนอกรีตสึก แล้วให้อุปสมบทใหม่ตามหลักพระพุทธศาสนา หากผู้ใดฝ่าฝืนไม่ยอมปฏิบัติตาม ก็จะถูก ลงโทษ
ปิตตะก่อใต้ (Pitaka Taik) สถานที่ประกีดฐานพระไตรปิฎก ที่อัญเชิญมาจากเมืองสะเทิม สร้างในสมัยพระเจ้าโนรรา การออกแบบมีจุดประสงค์ที่จะเก็บรักษาคัมภีร์ใบลาน ให้ปลอดภัยจากแสงแดด ฝน และอัคคีภัย มีผังอาคารเป็นรูป สีเหลี่ยมจัตุรัส ตรงกลางเป็นส่วนที่เก็บรักษาคัมภีร์ พระไตรปิฎก มีทางเดินโดยรอบ หลักคาทำเป็นหลังคา หลังคาทำเป็นหลังคาคำซ้อน
๒๕ อยู่ในบุญ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑