การฟังธรรมและปัญญาในพระพุทธศาสนา  วารสารอยู่ในบุญประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 หน้า 81
หน้าที่ 81 / 108

สรุปเนื้อหา

การฟังธรรมในพระพุทธศาสนามีความสำคัญอย่างยิ่ง น้ำเสียงที่ไพรเราะสามารถยกใจผู้ฟังจากความมืดมนให้กลับสู่วิถีแห่งปัญญา พระสารัตถเป็นตัวอย่างของการสอนให้เข้าใจใจกว้าง โดยธรรมที่ท่านแสดงยังคงมีอยู่ในใจผู้ฟังเสมอ ผู้ที่ได้รับฟังมักต้องการออกบวชเพื่อศึกษาและปฏิบัติตามคำสอนของท่าน เสียงที่ดีนั้นไม่เพียงแค่ทำให้ฟังธรรมง่ายขึ้น แต่ยังช่วยสร้างปัญญาอันลึกซึ้งให้เกิดขึ้นในจิตใจอีกด้วย เช่น การอ้างอิงถึงพระอานนท์ในจุณสุตรและแนวทางที่ท่านพระสารัตถได้ถ่ายทอด.

หัวข้อประเด็น

-การฟังธรรม
-ปัญญาในพระพุทธศาสนา
-การออกบวช
-น้ำเสียงไพรเราะ
-สารัตถและธรรมจักร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คนฟัง น้ำเสียงไพรเราะยังถูกวน ยกใจผู้ฟังให้ จากความมอดมิดคือเวียนว่ายกลับใจผู้ฟังfromมิจฉิเปนสมมุติรู้เปนอัศจรรย์ทำให้ฟังมีรรมเปนทั้งในจิตใจ ถึงพระ-บรมครด์สตฺวว่า "สารัตถ Enเป็นนัตถิติ เป็นผู้มีปัญญามาก เป็นผู้มีปัญญาเน่นหนา เป็นผู้มีปัญญาชวนให้ร่ำรวย เป็นผู้มีปัญญาไว เป็นผู้มีปัญญาหลักแหลม เป็นผู้มีปัญญาแหลมคม "สารัตถฯ โอสระของคํใหญของพระเจ้า จักรพรรดิ ย่อมยังจักรอันพระราชิดให้เป็นไปแล้วให้เป็นไปตามได้ขอฉันโดยสารัตถูเธอก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมยังธรรมจักอันยอดเยี่ยม อันจะให้เป็นไปแล้ว เป็นไปตามได้โดยขอแท้จริง" นอกจากนั้น แม้ในบทท่านบริพาทจะไปแล้ว ธรรมที่ท่านเคยแสดงไว้เมื่อครังชีวิตยังอยู่ในใจของผู้ฟังเสมอ ดังพระอานนท์กล่าวไว้ใน จุณสุตรว่า "ท่านพระสารัตถเป็นผู้กล่าวสอนให้รัดแกงให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้เจาะหาปได้รัง ไม่เกียรคร้านในบากแสดงธรรม อนุเคราะห์ที่เพื่อนพรหมจารีทั้งหลาย ข้าพระองค์ทั้งหลายมาตามระลึกถึงอธรรม ธรรมสมบัติและการอนุเคราะห์ด้วยธรรมะนั่นของท่านพระสารัตถ" ด้วยเหตุนี้ ผู้ฟังที่ได้ฟังพระสารรุตแสดงธรรมในยุคนั้น จึงปรารถนาจะออกบวชในสำนักของท่านเป็นอันมาก เช่น กรณีของ พระสนฺดา * ส.ส.ปลาวรรณสูตร (ไทย) ๕/๒๕๔/๑๒๓-๑๒๓ * ส.พ.จุนสุตร (ไทย) ๑๙/๑๙/๒๓๒ * ขุ.เถร.อุดานุเคราคฎา (ไทย) ๘๐/๘๐ * ขุ.อสสิงลจาสมุเณร (ไทย) ๔๘/๔๘-๕๗
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More