ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมม ยอาจจะน้อ ยลง จึ งจำเป็ นที่ จ ะต ้องขยายความให ้คนรุ่ นหลังเข้าใจ ส ุขไ ด้ ว่า การม ี เ อค ความไม่ตรงกันในเรื่อ งธรรมจรรย าของทั้งฉบับบาลีและจี นนั้น อ าง จ ะเกิดจากการปรีว รอเนื้อหาใน ยุ ค หลั ง ซึ่งแม้ แต่ฉบับแปลภาษ าไทย ๒ ฉบับ คื อ ฉบับ มหามกุฏราชวิทยาลัยและฉบับหล อสมุดแห่งชาติ ก็มี เ อค ความไม่ตรงกัน โดยที่ฉบับมหามกุฎ ร าวิทยาลัยปรากฏข้ อ ความที่กล่ าวถึงธรรมจรรยาเช่น เดียวกับสมาคมบาลีปก ร ะ แต่ฉบับ หล อสมุดแห่งชาติกลับตัดข้ อ ค วามนั้ นทิ้งเสีย เ ล ะ นี่จ ะเป็นเรื่ อ งที่น่าคิดว่าเหตุใดจึ งเป็นเช่นนี้ เร าอาจจะได้รับรองว่า คำถามเรื่ องก ารมีอยู่ ของพระพุทธ เจ้ านั่น น่าจะเป็ นส่วนที่เก่าแก่ ม าแต่ หน้ าเดิม แต่ในฉบับบาลีที่ มี ก ารบำกิ นคำ วารว่าคำธรรมจรรยาอย่ า ง ชัดเจน นั้นน่ า จ ะถูกแต่ง เสริมเข้ามาใน ยา ยหลัง เพื่ออธิบายขยายความเนื้อหาเดิมที่อาจจ ะไม่ ชัดเจนเมื่อเวลาผ่านไป สิ่งนี้ให้เห็นว่า น บานาจารย์ สายเ ร วรา ก็ ยอ มรับและให้ความสำคั ญกับคำว่า ธรรม ภาย เ ข า มีไม น้อย และมีความเข้าใจตรงกันว่า แม้ รูปภ าย ของพระพุทธเจ้ าหย ายไปแล้ว แต่พระองค์ ยังก ี่ ธรรม ภาย อยู เ หมือนกัน ถึงแม้เหตุใดในธรรมจรรยา จึ งเลื่อนหายไปตามกาลเวลา หรือ ลดความนิยม ลง ไปในพระพุทธศาสนาเ ว รา ยุ ค หลั ง ก็ เป็นสิ่งที่น่าคิดสำหรั บทีมงานนักวิจัยสถาบันดิ ร ี จะต้องหาคำตอบต่อไป
๑. งานวิจัยเปรียบเทียบมิลินทปัญหาและนานาเสนภิษฎ์ โดยภิภัชดิช มิน เชา ชาวเวียดนาม
๒. พระสิ ดิ มิน เชา พระภิกษุชาวเวียดนามผู้เชี่ยวชาญภาษาบาลีและจีน ผู้ท วิ จารย์เปรียบเทียบ คัมภีร์ มิลินทปัญหา ฉบับบาลีและจีน ที่นำมาอ้างอิงในบทความนี้
๓. มิลินทปัญห าฉบับอั ลโรมั่น ดี พิมพ์โดยสมาคมบาลีปกรณ์ ปรากฏคำว่ าธรรมจรรยาในหน้า ๓๓