การศึกษาเนื้อหาไตรภูมิ-พระมาลัย นรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัย: ความสัมพันธ์กับคัมภีร์สำคัญ ทางพุทธศาสนา หน้า 7
หน้าที่ 7 / 42

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการศึกษาเกี่ยวกับไตรภูมิ-พระมาลัย ซึ่งกล่าวถึงการสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาและความเชื่อของพระพุทธศาสนา โดยวิเคราะห์เนื้อหาในแง่ของศาสนาและวรรณกรรม เปรียบเทียบกับวรรณกรรมสำคัญอื่นๆ ของไทยเพื่อให้เห็นมุมมองที่หลากหลายเกี่ยวกับคติทางพระพุทธศาสนาและความสำคัญของวรรณกรรมในสมัยนั้น โดยเฉพาะในแง่ของตำนานพระพุทธเจ้าและคติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง.

หัวข้อประเด็น

-ไตรภูมิ-พระมาลัย
-วรรณกรรมสมัยอยุธยา
-พระพุทธศาสนา
-การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ
-ตำนานพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

"ปุรามธรรม" อีกด้วย2 จากการศึกษาของกัดครพล แสงเงิน ได้กล่าวว่า ไตรภูมิ-พระมาลัย (ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปราส) น่าจะแต่งขึ้นในสมัยอยุธยา หรือแม้กระทั่งการศึกษาเรื่องพระมาลัย (พระมาลัยในฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปราส) ซึ่งเป็นเรื่องที่ต่อจากเรื่องไตรภูมิ ก็ได้รับการยืนยันว่า วรรณกรรมเรื่องนี้แต่งขึ้นในสมัยอยุธยา และน่าจะตรงกับสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชอีกด้วย4 ไตรภูมิพระมาลัย มีเนื้อหาประกอบด้วยคติโถงพระพุทธศาสนา และคตานาฏพามณ์-อิ่นดู (แบ่งหัวข้อโดยกรมศิลปากร) คือ พระปรมควรสร้างโลกและเขตกัสภ์นิ แล้วนมมนุษย์ กำเนิดลงกาทิวปิ กำเนิดพระอาทิตย์ พระจันทร์ เรื่องเกี่ยวกับตำนานพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ศาสนพระอิสริยเมตไตรย์ อานิสงส์ศักดิ์ 5 มหาพมหเทพพระทอง เลขเป็นเทวดาต่าง ๆ ไฟประลัยกัลป์ ทิวบั้ง 4 อากาศพฤฒิและนรกภูมิ ซึ่งภัทรพล แสงเงิน ได้ศึกษา วิเคราะห์เนื้อหาไตรภูมิ-พระมาลัย (เฉพาะไตรภูมิ) ฉบับนี้เชิงเนื้อหา โดยใช้ติงพุทธศาสนาเปรียบเทียบกับวรรณกรรมโลกศาสตร สำคัญของไทย คือ ไตรภูมิถาก ofพระมหาธรรมราชา 1 (สิงห์ไทย) และไตรภูมิจฉนาถกาของพระยาธรรมปรีชา (แก้ว) และคติธรรมศาสนาภมณ์-อิ่นดู เปรียบเทียบกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More