ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมาภิบาล วรรณวิจารณ์ทางพระพุทธศาสนา
ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวบรวมที่ 11) ปี 2563
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับทางศาสนาพรามณ์-อินด พบว่า เนื้อหาใน
ไตรภูมิ-พระมหาลัย ฉบับนี้เป็นหลักเป็นคติทางพระพุทธศาสนาและมี
คติทางศาสนาพรามณ์-อินดแทรกอยู่ ทำให้ไตรภูมิ-พระมหาลัยมี
ลักษณะเด่นและแตกต่างจากไตรภูมิเรื่องอื่นๆ อย่างเห็นได้ชัด
การศึกษาวิเคราะห์ไตรภูมิ-พระมหาลัย ฉบับนี้เชิงเนื้อหาอย่างพินิจใน
งานของภัทรพล แสงเงินเรื่อง สัตตันตรกัลป์และพระศรีอาริเมตไตรย์
โดยได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบเนื้อหาเหล่านี้กับคติธีสำคัญทางพระ
พุทธศาสนาจำนวน 4 ฉบับ คือ 1) พระสุทัตติปฏิภาค ที่มีกาย ปฏิวิภาร
จากวัตถุติสุด 2) คัมภิรพรอนาคตวงศ์ 3) คัมภิรัสราตา ภิกา
อนาคตวงศ์ และ 4) คัมภิรพระสาวกนิพพาน พบว่า เนื้อหาที่คล้ายคลึง
กันเป็นอันยิ่ง6 หรือเรื่อง คติพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ที่ได้ศึกษาเปรียบ
เทียบเนื้อหากับ 1) พระสุทัตติปฏิภาค ฤทธกนิยาย อุปนาถ [ฤทธิภาค]
พุทธวงศ์ จิราปิโก กุลสันธพธวงศ์สิ่งใดตมพุทธวงศ์ 2) พระสุทัตติ-
ปฏิภา กทิศินาย ปฏิวิภาร จักวัติสุด 3) คัมภิรพระอนาคตวงศ์
และ 4) คัมภิรพระสาวกนิพพาน พบว่า ไตรภูมิฉบับนี้มีเนื้อหาร่วมกันกับ
คัมภิรทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะเรื่องของคติพระศรีอาริเมตไตรย
พระพุทธเจ้าทั้ง 5 ในภาวกัลย
5 คติธรรม แสงเงิน, "ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงเทพธิ์: การศึกษาว
ิจัยวิเคราะห์," (วิทยานิพนธ์มานุษยวิทยา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2557),
186-187.
6 คติธรรม แสงเงิน, "จากอาสานถึงเริ่มใหม่: ยุคพระศรีอาริเมตไตรยใน
ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกกรุงเทพธิ์," วารสารไทยศึกษา ปีที่ 12, ฉบับที่ 2,
(กรกฎาคม-ธันวาคม 2559): 1-15.
7 คติธรรม แสงเงิน, "คติพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในไตรภูมิฉบับ
หอสมุดแห่งชาติกรุงเทพธิ์," วารสารมยสาา ปีที่ 15, ฉบับที่ 2, (พฤษภาคม-
สิงหาคม 2560): 125-136.